1. Trang chủ
  2. » Luận Văn - Báo Cáo

Comparative study on labour provisions in ftas vietnam’s and thailand’s perspective

244 8 0

Đang tải... (xem toàn văn)

Tài liệu hạn chế xem trước, để xem đầy đủ mời bạn chọn Tải xuống

THÔNG TIN TÀI LIỆU

Thông tin cơ bản

Định dạng
Số trang 244
Dung lượng 11,17 MB

Nội dung

COMPARATIVE STUDY ON S: LABOUR PROVISIONS IN FTAS: VIETNAM’S AND THAILAND’S PERSPECTIVE CPTPP EU - FTA Assist.Prof Dr Usanee Aimsiranun Faculty of Law, Chiang Mai University and Assoc Prof Dr Tran Thi Thuy Duong Ho Chi Minh City University of Law January 2022 Research funded by Faculty of Law, Chiang Mai University Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective TABLE OF CONTENT Table of content Table of illustrations Introduction Research’s objectives Literature review Research’s scope 10 Methodology 10 Expected outcome/benefits 11 Chapter 12 Practice and Rationale of Inclusion of Labour Provisions in Trade Agreements 12 1.1 Development: the rise of FTAs and insertion of labour provisions in trade agreements 12 1.2 Structure of trade-related labour provisions 17 1.2.1 Substantive labour provisions: labour standards and commitments 17 1.2.1.1 International labour standards (ILS) 17 1.2.1.2 Mutually-agreed labour standards 20 1.2.1.3 Domestic labour laws 20 1.2.2 Mechanism to ensure/promote compliance with labour provisions 21 1.2.2.1 Promotional approach 21 1.2.2.2 Conditional approach 22 1.2.3 Monitoring 24 Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective 1.3 Impacts of labour provisions on the improvement of labour conditions 24 Chapter 27 Labour provisions in the CPTPP and the EU’s FTA 27 2.1 Labour provisions in the CPTPP 27 2.2 Labour provisions in the EU FTA model 31 2.3 The CPTPP Labour Chapter and the EU FTAs’ TSD Chapters in comparison 34 Chapter 52 Vietnam’s Participation in the new-generation fTAs and challenges related to implementation of labour provisions 52 3.1 Influence of labour provisions of the CPTPP and the EVFTA on Vietnam’s legal reform 52 3.1.1 Elimination of all forms of forced or compulsory labour 55 3.1.2 Effective abolition of child labour 58 3.1.3 Elimination of discrimination in respect of employment and occupation 61 3.1.4 Freedom of association and the effective recognition of the right to collective bargaining 66 3.2 Assessment of impacts of FTAs’ labour provisions on Vietnam 98 Chapter 101 Possible impacts of new generations FTAs labour provisions on Thai labour laws 101 4.1 Prospect of Thailand participating in the CPTPP and undertaking an FTA negotiation with the EU 101 4.1.1 Thailand and the CPTPP 101 4.1.2 Negotiations of an EU-Thailand FTA 104 4.2 Assessment of Thai labour laws with regard to the CPTPP and EU FTA’s labour provisions 106 4.2.1 Forced or compulsory labour 108 Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective 4.2.2 Child labour 112 4.2.3 Employment discrimination 114 4.2.4 Freedom of association and collective bargaining 118 Chapter 127 Impact of FTAs’ labour provisions: Vietnam’s and Thailand’s perspective 127 5.1 Important external push for improvement of domestic labour standards 127 5.2 Requirement of effective implementation in practice 129 Reference 131 Appendices 138 Appendix 139 Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership’s Labour Chapter Appendix 149 Chapter 13 of Free Trade Agreement between the European Union and the Socialist Republic of Vietnam signed on 30 June 2019 Appendix 159 Vietnam Labour Code 2019 Appendix 206 Draft of the Labour Relation Act published for public opinion during 6-20 Jan 2022 (in Thai) Appendix 227 Draft of the State Enterprise Labour Relations Act published for public opinion during 6-20 Jan 2022 (in Thai) Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective TABLE OF ILLUSTRATIONS Figure Regional Trade Agreements notified and in force 16 Figure Structure of Vietnam Trade Union System 67 Table Comparison of the labour provisions in the CPTPP Labour Chapter and the EU FTAs’ TSD Chapter 35 Table The CPTPP member countries’ ratification of the ILO fundamental Conventions 43 Table The EU member countries’ ratification of the ILO fundamental Conventions 46 Table Vietnam’s Ratification of ILO fundamental Conventions 53 Table Provisions of 2019 Labour Code related to the elimination of all forms of forced or compulsory labour – Comparison with those of 2012 Labour Code 56 Table Provisions of 2019 Labour Code related to the effective abolition of child labour – Comparison with those of 2012 Labour Code 58 Table Provisions of 2019 Labour Code related to the elimination of discrimination in respect of employment and occupation – Comparison with those of 2012 Labour Code 62 Table Provisions of 2019 Labour Code related to freedom of association and the effective recognition of the right to collective bargaining – Comparison with those of 2012 Labour Code 68 Table Thailand’s ratification of ILO fundamental Conventions 107 Table 10 Assessment of the Labour Relation Act B.E 2518 (1975) with regard to the principle of freedom of association and collective bargaining 124 Table 11 Assessment of Thai State Enterprise Labour Relation Act B.E 2543 (2000) with regard to freedom of association and collective bargaining 125 Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective INTRODUCTION The stalled progress of multilateral negotiations under the WTO framework has resulted in the multiplication of free trade agreements both at bilateral and regional levels In the last decade, there has been the development of Mega regional agreements such as the TransPacific Partnership (TPP) - Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership –(CPTPP), Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP), United States-Mexico-Canada Agreement as well as FTA between the EU and other important partners Southeast Asian countries have taken part, individually or under the ASEAN framework, in various bilateral and multilateral negotiations and agreements The Trans-Pacific Partnership Agreement (TPP), signed in February 2016 was initially a major US geopolitical effort in Asia to establish the world’s largest free trade deal covering 40 per cent of the global economy 12 member countries including four ASEAN member states namely Brunei, Malaysia, Singapore, and Vietnam joined the TPP After the US under President Trump decided to withdraw from the TPP agreement in 2017, the other 11 members decided to continue the cooperation under the renewed framework of the “Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership (CPTPP)” while keeping the core of the TPP Agreement intact 2The CPTPP was concluded in January 2018, was signed in March 2018, and entered into force from December 2018 for the first six countries: Canada, Australia, Japan, Mexico, New Zealand, and Singapore As of January 2022, eight countries have ratified the CPTPP, namely Australia, Canada, Japan, Mexico, New Zealand, Singapore, Vietnam, and Peru The remaining countries are Brunei Darussalam, Chile, and Malaysia Thailand has not joined the TPP nor the CPTPP negotiations Nonetheless, fearing being left Initial signatories of the TPP Agreement are the US, Canada, Chile, Mexico, Peru, Japan, Australia, New Zealand, Brunei, Malaysia, Singapore, and Vietnam Provisions, principally concerning intellectual property, favoured by the US but opposed by other members were removed Ratification from at least six countries is required for the entry into force Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective out of trade advantages while other countries in ASEAN and the region are part of this regional trade deal, the Cabinet has recently resumed the consideration of whether to join the CPTPP The failure of multilateral negotiation under the WTO framework had also pushed the European Union to negotiate and conclude FTAs to secure market access and improve competitiveness The EU started to negotiate a region-to-region free trade agreement with seven ASEAN member states in 2007, but the negotiation was put on hold in 2009 due to the failure of the two sides to reach a common position The EU then shifted its approach from regional to bilateral trade agreements with some ASEAN member states The EU has concluded FTAs with two ASEAN countries namely Singapore and Vietnam The FTA with Singapore entered into force in November 2019 and the one with Vietnam in August 2020 An FTA negotiation between the EU and Thailand started in 2013 but was put on hold due to a military coup in 2014 8, but the negotiation is expected to resume The mega-regional agreements as well as the new generation FTAs go beyond traditional issues and increasingly regulate non-trades issues ranging from intellectual properties, environment, labour protection or competition law Labour provisions in trade agreements are generally based on the ILO core labour standards and concern mainly (i) setting up standards that address minimum working conditions and terms of employment as well as addressing labour relations; (ii) outlining mechanisms to promote compliance with these standards; and (iii) creating a framework for cooperation and dialogue Reflecting the US and Thai Cabinet mandated the Committee to study the impact of joining the CPTPP and the Committee submitted the report in November 2020 The Cabinet has recently mandated Ministers to prepare the report by April 2021 about Thailand’s readiness to join as well as the conditions of negotiation as should join the CPTPP Prachachat, การเข้ าร่ วม CPTPP โอกาสและความท้ าทายของไทย, 20 March 2020, accessed on 11 March 2021, https://www.prachachat.net/columns/news-435116 Bangkokbiznews, ครม ตัง้ รมต.ลุย ศึกษาข้ อมูลเข้ า CPTPP, 10 March 2021, accessed on 11 March 2021, https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/926529 Ploykaew Porananond and Usanee Aimsiranun, "The Different Trade Approaches between China and the EU in the ASEAN", International Business Law Journal, 2020, 5, 747-762 European Commission, https://ec.europa.eu/commission/presscorner/detail/en/IP_19_6316, accessed on 11 March 2011 European Commission, https://ec.europa.eu/commission/presscorner/detail/en/IP_20_1412, accessed on 11 March 2011 European Commission,https://ec.europa.eu/trade/policy/countries-and-regions/countries/thailand/, accessed on 11 March 2011 ILO, Handbook on assessment of labour provisions in trade and investment arrangements, Geneva: ILO, 2017, 21 Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective the EU recent approach, both the CPTPP and the EU FTAs with Singapore and Vietnam, include the labour provisions to address the social dimension of trades Taking into account the possibility for Thailand to accede to the CPTPP as well as the resumption of the negotiation between Thailand and the EU in view of conclusion of a free trade agreement, this research aims to study, through a comparative approach, labour provisions in the CPTPP and in the EU FTAs, especially those concluded with the countries in Asia and Southeast Asia, namely South Korea, Singapore and Vietnam, in order to examine the potential implications of the CPTPP’s and the EU’s FTA’s labour provisions for Thailand’s labour law Vietnam is chosen as a case study since Vietnam is one of the two ASEAN member countries (another is Singapore) which has ratified the CPTPP and succeeded in concluding an FTA with the EU Vietnam, as a middle-income country, has the same challenge as Thailand in overcoming the middle-income trap as well as a very high economic potential to compete and catch up with Thailand in economic development and international trades Vietnam’s legal reforms to meet with the CPTPP and in the EU-Vietnam FTA labour provisions can provide some perspectives for Thailand in its consideration to join the CPTPP as well as in its future negotiation with the EU concerning the conclusion of an EU-Thailand FTA Research’s objectives To study and compare labour provisions contained in the CPTPP’s Labour Chapter and EU FTAs’ Trade and Sustainable Development (TSD) Chapter, especially those concluded with Asian and Southeast Asian countries To examine the influence of labour provisions in the CPTPP’s Labour Chapter and EU’s TSD Chapter on incurring legal reforms in Vietnam To assess the current Thai labour laws with regards to requirements of the CPTPP and the EU FTA’s labour provisions, and to suggest, where relevant, necessary legal reforms in case Thailand decides to apply to join the CPTPP and/or to conclude an FTA with the EU Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective Literature review The ILO’s study entitled “Social dimensions of free trade agreements” in 2013 revealed an increasing trend of integration of labour provisions in the trade agreements, mainly, but not exclusively, in the agreements between developed and developing economies The study developed the typology of labour provisions, principally conditional and promotional labour provisions The study showed that trades agreements influenced labour standards through the requirement of reform, cooperation among parties and, in a more limited manner, complaint mechanisms 10 The 2016 ILO’s study regarding the Assessment of labour provisions in trade and investment arrangements was the continuation of the previous 2013 study The study pointed out that capacity-building activities, monitoring, and stakeholder involvement were associated with positive institutional and legal changes as well as, in some cases, improvements in working conditions at the sectoral level The study also suggested that the effectiveness of labour provisions depended largely on the involvement of the stakeholders especially social partners, during the negotiation and implementation process 11 In 2016, Cathleen Cimino-Isaacs traced the evolution of the US practice and policy position concerning labour provisions in US FTAs and examined the innovations in the TPP agreement The paper considered the TPP agreement as well as the bilateral plans negotiated with Brunei, Malaysia, and Vietnam as an important step forward and possible benchmark for future agreements 12 Bronckers and Gruni, 2019 outlined proposals to strengthen the enforcement of EU labour standards in the EU’s FTA through adaptations to the dispute settlement mechanism applicable to such labour standards in the EU’s FTAs The proposals included tightening up the labour standards, admitting private complaints concerning the violation of labour ILO, Social dimensions of free trade agreements, Geneva: ILO, 2013 (revised in 2015) ILO, Handbook on assessment of labour provisions in trade and investment arrangements, op.cit., 2017 12 Cathleen Cimino-Isaacs, Labor standards in the TPP, in Assessing the Trans-Pacific Partnership Volume 2: Innovations In Trading Rules Jeffrey J Schott and Cathleen Cimino-Isaacs: Peterson Institute for International Economics, 2016, 41-65 10 11 Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective provisions, abandoning separate and weak dispute settlement procedures as well as adding appropriate sanctions 13 The ESCAP paper in 2017 revealed that New Zealand, the Republic of Korea, the United States, and the EU as the main promoters of labour provisions in their trade agreements The study provided suggestions for improving labour provisions in the Asia-Pacific region, including enhancing monitoring and impact evaluations, the need to combine enforcement and cooperation, involvement of the private sector as well as capacity buildings 14 Sanchita Basu Das et al., 2017 examined the economic implications of the TPP labour chapter for labour market outcomes in ASEAN countries that had participated in the TPP agreement The study suggested that the TPP agreement consistency plans provided an opportunity for Vietnam, Malaysia, and Brunei to reform their labour market to ensure that their workers benefit from trade liberalization Nonetheless, challenges include limited benefit for informal sectors, unadjusted gender wage gaps Moreover, the consistency plans lacked the monitoring mechanism of required legal changes 15 Navarsatian 2020 examined the guarantees for labour protection in Vietnam by the Trade and Sustainable Development Chapter in the EU-Vietnam FTA The study pointed out that both the substantial and procedural guarantees in the FTA were insufficient, lacked involvement of the stakeholders and their effectivity would depend on the goodwill of the Parties 16 The Report prepared by the Thai Parliamentary committee on the CPTPP in 2020 studied the costs and benefits of Thailand joining the CPTPP The sub-committee on Economy, Trades, and Investment’s study on protection of workers’ rights pointed out that the CPTPP’s provision called on the member countries to enact legislation to conform with international labour standards as defined by the ILO Nevertheless, the study limited itself to suggest that Marco Bronckers and Giovanni Gruni, "Taking the Enforcement of Labour Standards in the EU’s Free Trade Agreements Seriously", Common Market Law Review, 2019, 57, 1591-1622 14 Lars Engen, Labour Provisions in Asia Pacific Free Trade Agreements: United Nations ESCAP Background paper no 1/2017, 2017 15 Sanchita Basu Das, Rahul Sen and Sadhana Srivastava, "Labour Provisions in Trade Agreements with Developing Economies: The Case of TPPA and ASEAN Member Countries", ISEAS Economics Working Paper No 2017-1, 2017 16 Areg Navasartian, "EU-Vietnam Free Trade Agreement: Insights on the Substantial and Procedural Guarantees for Labour Protection in Vietnam", European Papers, 2020, 5, 1, 561-571 13 ๒ มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตินี้ “รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา (๑) องคการของรัฐบาลตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งองคการของรัฐบาล กิจการของรัฐ ตามกฎหมายที่จัดตั้งกิจการนั้น หรือหนวยงานธุรกิจที่รัฐบาลเปนเจาของ (๒) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่กระทรวงการคลังหรือรัฐวิสาหกิจตาม (๑) มีทุนรวมอยูดว ยเกินกวารอยละหาสิบ “นายจาง” หมายความวา รัฐวิสาหกิจซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทำงานโดยจายคาจางให และใหหมายความรวมถึงผูมีอำนาจกระทำการแทนรัฐวิสาหกิจ หรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากผูที่มีอำนาจ กระทำการแทนรัฐวิสาหกิจดวย “ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทำงานใหแกนายจางเพื่อรับคาจาง “ฝายบริหาร” หมายความวา ลูกจางระดับผูบังคับบัญชาที่มีอำนาจในการจาง เลิกจาง ขึ้นคาจาง ตัดคาจาง หรือลดคาจาง “สภาพการจาง” หมายความวา หลักเกณฑและเงื่อนไขการจางหรือการทำงาน กำหนดวันและเวลาทำงาน คาจาง สวัสดิการ การเลิกจาง หรือประโยชนอื่นของนายจางหรือลูกจาง อันเกี่ยวกับการจางหรือการทำงาน “ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง” หมายความวา ขอตกลงระหวางนายจาง กับสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเกี่ยวกับสภาพการจาง “ขอพิพาทแรงงาน” หมายความวา ขอเรียกรองเกี่ยวกับสภาพการจางที่ไมมีการเจรจากัน ภายในระยะเวลาที่กำหนดหรือที่ตกลงกันไมไดระหวางนายจางกับสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ “ปดงาน” หมายความวา การที่นายจางหยุดกิจการทั้งหมดหรือบางสวน เปนการชั่วคราว เนื่องจากเกิดขอพิพาทแรงงาน “นัดหยุดงาน” หมายความวา การที่ลูกจางรวมกันไมทำงานชั่วคราวเนื่องจาก เกิดขอพิพาทแรงงาน “สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ” หมายความวา สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัตินี้ “สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ” หมายความวา สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัตินี้ “สภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ” หมายความวา สภาองคการลูกจางแรงงาน รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการแรงงานสัมพันธในรัฐวิสาหกิจ “พนักงานประนอมขอพิพาทแรงงาน” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้ง ใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ ๓ “อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอำนาจดังตอไปนี้ (๑) แตงตั้งพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานและพนักงานเจาหนาที่เพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๒) ออกประกาศและระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ประกาศและระเบียบนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได มาตรา ๗ ในกรณีพระราชบัญญัติฉบับนี้มิไดกำหนดไวเปนประการอื่น การแจง การสงเอกสาร หรือการประกาศตามที่กำหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ ใหดำเนินการโดยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกสเปนหลัก ในกรณีที่ไมสามารถดำเนินการหรือมีเหตุอื่นทำใหไมสามารถดำเนินการ โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสได ใหแจงหรือสงเอกสารโดยวิธีการทางไปรษณีย หรือใหยื่น ณ กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานหรือสถานที่อื่น หรือประกาศ ณ สถานที่ทำการของนายจาง หรือสถานทีท่ ี่ลูกจางทำงานอยู หรือโดยวิธีการอื่น ตามที่อธิบดีประกาศกำหนด หมวด ๑ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง มาตรา ๘ ขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจางตามหมวดนี้ ใหทำเปนหนังสือลงลายมือชื่อ ฝายนายจางและฝายสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๙ เพื่อการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธที่ดี ฝายนายจางและฝายสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจอาจรวมกันเจรจาเพื่อจัดใหมีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางตามพระราชบัญญัตินี้ การจัดใหมีขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางตามวรรคหนึ่ง ตองอยูบนพื้นฐาน ของความสุจริตตอกันและการสรางความเขาใจหรือสงเสริมความสัมพันธอันดี โดยฝายนายจาง และฝายสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจะตองดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดไวในหมวดนี้ มาตรา ๑๐ รัฐวิสาหกิจใดทีไ่ มมีขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจาง ใหถือวาขอบังคับ เกี่ยวกับการทำงานในรัฐวิสาหกิจนั้นเปนขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางในระหวางระยะเวลานั้น 229 ๔ มาตรา ๑๑ ขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจางทีฝ่ ายนายจางและฝายสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจรวมกันจัดใหมีขึ้นตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง อยางนอยตองมีขอความเกี่ยวกับรายการ ดังตอไปนี้ (๑) เงื่อนไขการจางหรือการทำงาน (๒) กำหนดวันและเวลาทำงาน (๓) คาจาง (๔) สวัสดิการ (๕) การเลิกจาง (๖) การรองทุกขของลูกจาง (๗) การแกไขเพิ่มเติมหรือการกำหนดระยะเวลาการแจงขอเรียกรองขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจาง มาตรา ๑๒ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางใหมีระยะเวลาใชบังคับตามที่นายจาง และสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไดตกลงกัน แตจะตกลงกันใหมีผลใชบังคับเกินกวาสามปไมได ถามิได กำหนดระยะเวลาไว ใหถือวาขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางมีผลใชบังคับหนึ่งปนับแตวันที่นายจาง และสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไดตกลงกัน ในกรณีที่ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางสิ้นสุดลง ถามิไดมีการแจงขอเรียกรองกอนวันที่ ขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจางเดิมจะสิ้นสุดลง ใหถือวาขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางนั้นมีผลใชบังคับ ตอไปอีกคราวละหนึ่งปนับแตวันที่ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเดิมสิ้นสุดลง มาตรา ๑๓ การเรียกรองใหมีการกำหนดขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจางหรือการแกไข เพิ่มเติมขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง นายจางหรือสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองแจงขอเรียกรอง เปนหนังสือใหอีกฝายหนึ่งทราบภายในระยะเวลาหกสิบวันกอนวันที่ขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจางเดิม จะสิ้นสุดลง เวนแตขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางเดิมไดกำหนดระยะเวลาการยื่นขอเรียกรองไว เปนอยางอื่น และใหฝายที่ยื่นขอเรียกรองสงสำเนาขอเรียกรองใหอธิบดีทราบโดยมิชักชา ใหฝายยื่นขอเรียกรองระบุชื่อผูซึ่งมีอำนาจทำการแทนเปนผูแทนในการเจรจา ซึ่งตองมีจำนวนไมเกินเจ็ดคน ผูแทนในการเจรจาฝายนายจางตองแตงตั้งจากฝายบริหารของรัฐวิสาหกิจนั้น และผูแทนในการเจรจาฝายสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองแตงตั้งจากกรรมการหรือสมาชิกสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจนั้น มาตรา ๑๔ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจทีม่ ีสิทธิแจงขอเรียกรองตามมาตรา ๑๓ ตองมีจำนวนสมาชิกซึ่งเปนลูกจางไมนอยกวารอยละยี่สิบหาของจำนวนลูกจางทั้งหมดซึ่งเกี่ยวของกับ ขอเรียกรองนั้นในวันที่ยื่นขอเรียกรอง ในกรณีที่มีขอสงสัยวาสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจนั้นจะมีลูกจางซึ่งเกี่ยวของกับ ขอเรียกรองเปนสมาชิกครบจำนวนที่ไดระบุไวในวรรคหนึ่งหรือไม นายจางหรือสหภาพแรงงาน ๕ รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของอาจยื่นคำรองโดยทำเปนหนังสือใหพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานตรวจรับรอง มาตรา ๑๕ เมื่อไดรับขอเรียกรองแลว ใหฝายที่รับขอเรียกรองแจงชื่อผูแทน ในการเจรจาจำนวนไมเกินเจ็ดคนเปนหนังสือใหฝายที่ยื่นขอเรียกรองทราบโดยมิชักชา และใหทงั้ สองฝาย เริ่มเจรจากันภายในหาวันนับแตวันที่ไดรับขอเรียกรอง มาตรา ๑๖ นายจางหรือสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจอาจตั้งที่ปรึกษาเพื่อใหคำปรึกษา แนะนำแกผูแทนของตนตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๕ ก็ได แตตอ งมีจำนวนไมเกินฝายละสองคน ในกรณีทนี่ ายจางหรือสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจแตงตั้งทีป่ รึกษา ใหนายจางหรือ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจแจงชื่อที่ปรึกษาฝายตนใหอีกฝายหนึ่งทราบเปนหนังสือ และใหทปี่ รึกษามีสิทธิ เขารวมประชุมและเจรจาทำความตกลงได มาตรา ๑๗ ถานายจางกับสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจสามารถตกลงเกีย่ วกับ ขอเรียกรองตามมาตรา ๑๓ ไดแลว ใหทำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางนั้นเปนหนังสือลงลายมือชื่อ ผูแทนในการเจรจาของนายจางและสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ และใหนายจางประกาศขอตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจางโดยเปดเผยไว ณ สถานที่ทลี่ ูกจางทำงานอยูเปนเวลาอยางนอยสามสิบวัน โดยเริ่มประกาศ ภายในสามวันนับแตวันที่ทำขอตกลง ใหนายจางแจงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางตามวรรคหนึ่งตออธิบดีภายในสิบหาวัน นับแตวันทีไ่ ดตกลงกัน มาตรา ๑๘ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางทีเ่ กีย่ วกับการเงินที่อยูนอกเหนือจาก ขอบเขตที่กำหนดตามมาตรา ๔๔ (๒) นายจางจะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกอนเสนอ คณะรัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบ มาตรา ๑๙ ขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจางมีผลผูกพันนายจางและลูกจาง ซึ่งเปนสมาชิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางทีก่ ระทำโดยนายจางกับสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีลูกจางเปนสมาชิกไมนอยกวาสองในสามของลูกจางทั้งหมด ใหถือวาขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง นั้นมีผลผูกพันนายจางและลูกจางทุกคน มาตรา ๒๐ เมือ่ ขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางมีผลใชบังคับแลว หามนายจาง ทำสัญญาจางแรงงานกับลูกจางขัดหรือแยงกับขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจาง เวนแตสัญญาจางแรงงาน นั้นจะเปนคุณแกลูกจางยิ่งกวา 230 หมวด ๒ วิธีระงับขอพิพาทแรงงาน ๖ ๗ มาตรา ๒๖ นายจางอาจปดงานหรือลูกจางอาจนัดหยุดงานในกรณี ดังตอไปนี้ (๑) เมื่อฝายซึ่งมีหนาที่ตองปฏิบัติตามขอตกลงตามมาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๒๒ วรรคสาม ไมปฏิบัติตามขอตกลง อีกฝายหนึ่งมีสิทธิปดงานหรือนัดหยุดงานได สวนที่ ๑ การปดงานและการนัดหยุดงานในกิจการทั่วไป หมวด ๓ การปดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา ๒๕ หามบุคคลอื่นซึ่งมิใชนายจาง ลูกจาง กรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ กรรมการสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ ผูแทนหรือทีป่ รึกษา ซึ่งเกีย่ วของกับขอเรียกรอง เขาไปดำเนินการ หรือรวมกระทำการใด ๆ ในการเรียกรอง การเจรจา การไกลเกลี่ย การปดงานหรือการชุมนุมในการ นัดหยุดงาน มาตรา ๒๔ เมื่อไดมีการแจงขอเรียกรองตามมาตรา ๑๓ แลว ถาขอเรียกรองนั้น ยังอยูในระหวางการเจรจา การไกลเกลี่ย หรือการชี้ขาดขอพิพาทแรงงานตามมาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๒๒ หามนายจางเลิกจางลูกจางซึ่งเปนกรรมการ อนุกรรมการ หรือสมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเปนผูดำเนินการในการเรียกรอง การเจรจา การไกลเกลี่ย หรือการชี้ขาดขอพิพาทแรงงาน เวนแตบุคคล ดังกลาว (๑) ทุจริตตอหนาที่หรือกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแกนายจาง (๒) จงใจทำใหนายจางไดรับความเสียหาย (๓) ฝาฝนขอบังคับ ระเบียบ หรือคำสั่ง อันชอบดวยกฎหมายของนายจาง โดยนายจาง ไดตักเตือนเปนหนังสือแลวและยังไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่ลูกจางไดกระทำความผิด เวนแตกรณีที่รายแรง นายจางไมจำตองตักเตือน (๔) ละทิง้ หนาที่เปนเวลาสามวันทำงานติดตอกันโดยไมมีเหตุผลอันสมควร ในกรณีฝายยื่นขอเรียกรองหรือฝายรับขอเรียกรองไมเห็นดวยกับคำวินิจฉัยชี้ขาด ของคณะกรรมการ มีสิทธินำคดีไปสูศาลแรงงานภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือแจง การนำคดีไปสูศาลแรงงานตามวรรคสอง ไมเปนการทุเลาการปฏิบัติตามคำชี้ขาดของ คณะกรรมการ เวนแตศาลแรงงานจะมีคำสั่งเปนอยางอื่น ในกรณีที่ไมมีการยื่นขอเรียกรองใหม ใหคำชี้ขาดของคณะกรรมการมีผลใชบังคับตอไป อีกคราวละหนึ่งป มาตรา ๒๑ ในกรณีที่ไมมีการเจรจากันภายในระยะเวลาที่กำหนดตามมาตรา ๑๕ หรือมีการเจรจากันแลวแตตกลงกันไมไดไมวาดวยเหตุใด ใหถือวาไดมีขอพิพาทแรงงานเกิดขึน้ และให ฝายยื่นขอเรียกรองแจงเปนหนังสือใหพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานทราบภายในสี่สิบแปดชั่วโมง นับแตเวลาที่พนกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๕ หรือนับแตเวลาทีต่ กลงกันไมได แลวแตกรณี มาตรา ๒๒ เมื่อพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานไดรับหนังสือแจงตามมาตรา ๒๑ แลว ใหพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานดำเนินการไกลเกลี่ยโดยมิชักชาเพื่อใหฝายแจงขอเรียกรอง และฝายรับขอเรียกรองตกลงกัน ในกรณีที่ไมอาจตกลงกันไดภายในกำหนดสิบหาวันนับแตวันที่พนักงานประนอม ขอพิพาทแรงงานไดรับหนังสือแจง ใหถือวาขอพิพาทแรงงานนั้นเปนขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมได ใน กรณีเชนวานี้ ใหฝายแจงขอเรียกรองและฝายรับขอเรียกรองแจงตอพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงาน ทราบถึงความประสงคที่จะดำเนินการตอไป โดยฝายใดฝายหนึ่งจะปดงานหรือนัดหยุดงาน ก็ได เวนแตทั้งสองฝายตกลงกันดำเนินการ ดังตอไปนี้ (๑) เสนอขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมไดนั้นใหพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงาน ดำเนินการไกลเกลี่ยตอไปจนตกลงกันได (๒) นำขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมไดนั้นไปเจรจาตกลงกันเอง (๓) เสนอขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมไดนั้นตอคณะกรรมการเพื่อชี้ขาดขอพิพาท แรงงาน ในกรณีที่ฝายยื่นขอเรียกรองและฝายรับขอเรียกรองตกลงกันไดไมวาในชวงเวลาใด ใหนำขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางไปดำเนินการตามมาตรา ๑๗ เมื่อคณะกรรมการไดรับขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมไดตาม (๓) แลว ใหพิจารณา วินิจฉัยชี้ขาดภายในเกาสิบวันนับแตวันที่รับขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมไดและแจงใหทั้งสองฝายทราบ กอนการวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทแรงงานตามวรรคสี่ คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลหรือ คณะบุคคลเพื่อดำเนินการไกลเกลี่ยขอพิพาทแรงงานดังกลาวก็ได มาตรา ๒๓ คำวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการใหเปนที่สุด ฝายยื่นขอเรียกรองและ ฝายรับขอเรียกรองตองปฏิบัติตาม แตถาเปนคำวินิจฉัยชี้ขาดที่เกี่ยวกับการเงินที่อยูนอกเหนือจาก ขอบเขตที่กำหนดตามมาตรา ๔๔ (๒) จะมีผลใชบังคับไดตอเมือ่ ไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว และใหคำวินิจฉัยชี้ขาดมีผลใชบังคับไดเปนเวลาหนึ่งปนับแตวันที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดหรือไดรับความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี แลวแตกรณี 231 ๘ (๒) เมื่อมีขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมได และทั้งสองฝายตกลงกันใหพนักงานประนอม ขอพิพาทแรงงานดำเนินการไกลเกลี่ยตอไปตามมาตรา ๒๒ (๑) หรือนำขอพิพาทแรงงาน ที่ตกลงกันไมไดนั้นไปเจรจาตกลงกันเองตามมาตรา ๒๒ (๒) แตไมสามารถไกลเกลี่ยหรือตกลงกันได (๓) เมื่อมีขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมได และไมไดมีการเสนอขอพิพาทแรงงาน ที่ตกลงกันไมไดนั้นใหคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดตามมาตรา ๒๒ (๓) (๔) เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทแรงงานไมแลวเสร็จภายในระยะเวลา ตามมาตรา ๒๒ วรรคสี่ (๕) เมื่อฝายซึ่งมีหนาที่ตองปฏิบัติตามคำชี้ขาดของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๒ วรรคสี่ ไมปฏิบัติตามคำชี้ขาด อีกฝายหนึ่งมีสิทธิปดงานหรือนัดหยุดงานได การนัดหยุดงานตามวรรคหนึ่งตองเปนไปโดยมติของที่ประชุมใหญดวยคะแนนเสียง เห็นชอบเกินกึ่งหนึ่งของสมาชิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจนั้นโดยวิธีการลงคะแนนลับ ในกรณีที่นายจางประสงคจะปดงานหรือลูกจางประสงคจะนัดหยุดงานตองแจง เปนหนังสือใหพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานและอีกฝายหนึ่งทราบลวงหนาเปนเวลาอยางนอย สี่สิบแปดชั่วโมงกอนการปดงานหรือนัดหยุดงาน โดยนับแตเวลาที่พนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานและ อีกฝายหนึ่งไดรับแจง สวนที่ ๒ การปดงานและการนัดหยุดงานในกิจการที่เปนบริการสาธารณะที่สำคัญ มาตรา ๒๗ กิจการที่เปนบริการสาธารณะที่สำคัญดังตอไปนี้ นายจางและสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจตองรวมกันจัดทำแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนในกรณีที่จะมีการปดงานหรือนัดหยุดงาน ตามมาตรา ๒๖ ไวลวงหนาเพื่อใหบริการสาธารณะมีความตอเนื่อง และเกิดความปลอดภัยตอชีวิต หรือสุขภาพของประชาชน (๑) กิจการบริการสาธารณสุข (๒) กิจการไฟฟา (๓) กิจการประปา (๔) กิจการโทรคมนาคม (๕) กิจการบรรเทาสาธารณภัย (๖) กิจการบริการการเดินอากาศ (๗) กิจการขนสงคนโดยสารทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ รวมตลอดถึงกิจการบริการ เสริมการขนสงหรือเกี่ยวเนื่องกับการขนสง ณ สถานีขนสง ทาเทียบเรือ และทาอากาศยาน (๘) กิจการขนสงหรือขนถายสินคาทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ เฉพาะสินคา เวชภัณฑหรือสินคาที่จำเปนตอความปลอดภัยในชีวิต รวมตลอดถึงกิจการบริการเสริมการขนสง ๙ หรือขนถายสินคาหรือเกี่ยวเนื่องกับการขนสงหรือขนถายสินคา ณ สถานีขนสง ทาเทียบเรือ และทาอากาศยาน (๙) กิจการอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๒๘ การยกเวนไมใหนำบทบัญญัติในการจัดทำแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปน ตามสวนนี้มาใชบังคับกับกิจการที่เปนบริการสาธารณะที่สำคัญใด ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา การตราพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งจะกำหนดขนาดหรือลักษณะของกิจการ ที่ไดรับการยกเวนดวยก็ได ทั้งนี้ ใหพิจารณาถึงความปลอดภัยตอชีวิตหรือสุขภาพของประชาชน และความเพียงพอของบริการสาธารณะที่หนวยงานของรัฐไดจัดทำหรือดำเนินการไว มาตรา ๒๙ ใหนายจางและสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจซึ่งมีสมาชิกมากที่สุด สามลำดับแรกรวมกันจัดทำแผนบริการขั้นต่ำทีจ่ ำเปนตามมาตรา ๒๗ ซึ่งอยางนอยตองมีรายการ ดังตอไปนี้ (๑) งาน ลักษณะงาน หรือสวนงานของกิจการบริการสาธารณะ ซึ่งจะตองดำเนินการจัด ใหมี (๒) สัดสวนหรือปริมาณงานของภารกิจที่ตองจัดทำโดยคำนึงถึงจำนวนผูใชบริการ (๓) วัน เวลา และพื้นที่ หรือความถี่ ในการใหบริการสาธารณะ โดยคำนึงถึงจำนวน ผูใชบริการ สถานที่หรือพื้นที่ที่จำเปนตองมีการใชบริการสาธารณะ เชน สถานศึกษา โรงพยาบาล (๔) แผนงานดานบุคลากรที่มีความสำคัญและจำเปนตองจัดใหมีเพื่อทดแทน รวมถึง จำนวนลูกจางที่ตองใหบริการหรือควบคุมดูแลการจัดทำบริการสาธารณะตาม (๒) (๕) คาตอบแทน รวมถึงการคุมครองสวัสดิภาพของลูกจางที่ทำงานในระหวางที่มีการนัด หยุดงาน (๖) แผนงานดานเครื่องมือและอุปกรณที่จำเปนตอการจัดทำบริการสาธารณะ (๗) การพิจารณาผลกระทบตอผูใชบริการสาธารณะ และการเยียวยาผูไดรบั ผลกระทบ จากการนัดหยุดงาน (๘) รายละเอียดอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓๐ ในการรวมกันจัดทำแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปน นายจางและสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจจะแตงตั้งที่ปรึกษาหรือเชิญหนวยงานหรือบุคคลทีเ่ กี่ยวของเขารวมในการจัดทำแผนดังกลาว ดวยก็ได มาตรา ๓๑ เมื่อสามารถตกลงกันเกี่ยวกับแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนไดแลว ใหทำ ขอตกลงเปนหนังสือลงลายมือชื่อผูแทนของนายจางและสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ และใหนายจาง ประกาศแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนในกรณีที่จะมีการนัดหยุดงานโดยเปดเผยไวเปนการทั่วไปดวยวิธีการ 232 ๑๐ ทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีอื่นใดที่ลูกจางสามารถเขาถึงได โดยเริ่มประกาศภายในสามวันนับแตวันทีท่ ำ ขอตกลง มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ไมสามารถตกลงกันเกี่ยวกับแผนบริการขั้นต่ำทีจ่ ำเปนได ใหถือตามแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนที่นายจางเห็นชอบ และใหนายจางประกาศแผนบริการขั้นต่ำ ที่จำเปนในกรณีที่จะมีการนัดหยุดงานโดยเปดเผยไวเปนการทั่วไปดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส หรือวิธีอื่นใดที่ลูกจางสามารถเขาถึงได มาตรา ๓๓ แผนบริการขัน้ ต่ำที่จำเปนตามมาตรา ๓๑ หรือมาตรา ๓๒ มีผลผูกพันนายจาง สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ลูกจาง และผูถูกกำหนดใหตองปฏิบัติตามแผนบริการ ขั้นต่ำที่จำเปน ใหตองปฏิบัติตาม มาตรา ๓๔ ใหมีการทบทวนแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนเพื่อใหสอดคลองกับสภาพสังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอยางนอยปละหนึ่งครั้ง มาตรา ๓๕ ในการจัดทำแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนตามมาตรา ๓๑ หรือมาตรา ๓๒ และการทบทวนแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนตามมาตรา ๓๔ ใหคำนึงถึงหลักความไดสัดสวนระหวางสิทธิ ในการนัดหยุดงานของลูกจางและสิทธิในการไดรับบริการสาธารณะของประชาชน มาตรา ๓๖ กอนการนัดหยุดงานในกิจการที่เปนบริการสาธารณะที่สำคัญ ตามมาตรา ๒๗ ใหฝายลูกจางที่จะนัดหยุดงานแจงเปนหนังสือใหนายจางทราบลวงหนาไมนอยกวาเจ็ดวัน และประกาศใหประชาชนรับทราบเปนการทั่วไปโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีอื่นใด ใหนายจางประกาศบริการสาธารณะที่จัดใหมีในระหวางการนัดหยุดงานใหประชาชน ทราบลวงหนาเปนการทั่วไปอยางนอยหาวันกอนการนัดหยุดงานดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีอื่น ใด โดยตองระบุวัน เวลา และพื้นที่ในการใหบริการสาธารณะ รวมถึงการเยียวยาผูใชบริการสาธารณะ ที่ไดรับผลกระทบจากการนัดหยุดงานดวย ในกรณีที่เปนบริการสาธารณะตามมาตรา ๒๗ (๗) หรือ (๘) ประกาศตามวรรคสองตอง ระบุจำนวนความถี่ตอระยะเวลาของการใหบริการขนสงและการใหบริการในชวงระยะเวลาเรงดวนดวย มาตรา ๓๗ กอนนายจางจะปดงานตามมาตรา ๒๖ ในกิจการที่เปนบริการสาธารณะ ที่สำคัญตามมาตรา ๒๗ ตองไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีกระทรวงเจาสังกัดนั้น และใหนำมาตรา ๒๙ ถึงมาตรา ๓๖ มาใชบังคับดวยโดยอนุโลม ๑๑ มาตรา ๓๘ ในกรณีที่การปดงานหรือการนัดหยุดงานในกิจการที่เปนบริการสาธารณะ ที่สำคัญตามมาตรา ๒๗ สงผลกระทบอยางรายแรงตอประโยชนสวนรวมหรือความสงบเรียบรอยหรือ ความปลอดภัยของประชาชน รัฐมนตรีมีอำนาจสั่งใหนำขอพิพาทแรงงานเสนอคณะกรรมการเพื่อชี้ขาด และใหคณะกรรมการชี้ขาดภายในสามสิบวันนับแตวันที่รับคำสั่ง และแจงคำชี้ขาดนั้น ใหทั้งสองฝายทราบ คำชี้ขาดของคณะกรรมการใหเปนที่สุด ฝายที่ปดงานและฝายที่นัดหยุดงาน ตองปฏิบัติตาม ทั้งนี้ ใหนำมาตรา ๒๓ มาใชบังคับโดยอนุโลม หมวด ๔ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธในรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๓๙ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ ในรัฐวิสาหกิจ” ประกอบดวย (๑) รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน เปนประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยตำแหนง ไดแก ปลัดกระทรวงแรงงาน เลขาธิการสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และผูอำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (๓) ผูแทนฝายนายจางซึ่งรัฐมนตรีแตงตัง้ จำนวนหาคน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งกันเอง ในระหวางผูวาการ ผูอำนวยการ กรรมการผูจัดการ หรือบุคคลซึง่ ดำรงตำแหนงที่มีหนาที่และอำนาจ คลายคลึงกันแตเรียกชื่ออยางอื่นในรัฐวิสาหกิจดวยกัน เปนกรรมการ (๔) ผูแทนฝายลูกจางซึ่งรัฐมนตรีแตงตัง้ จำนวนหาคน ซึ่งมาจากการเลือกตัง้ กันเอง ในระหวางประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจดวยกัน เปนกรรมการ ใหอธิบดีเปนกรรมการและเลขานุการ และมีอำนาจแตงตั้งขาราชการในกรมสวัสดิการ และคุมครองแรงงานตามจำนวนที่เห็นสมควร เปนผูชวยเลขานุการ คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และการเลือกตั้งเพื่อใหไดมาซึ่งกรรมการตาม (๓) และ (๔) ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงือ่ นไขตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด มาตรา ๔๐ กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระการดำรงตำแหนงคราวละสองป เมื่อครบกำหนดตามวาระ หากยังมิไดมีการแตงตั้งกรรมการขึ้นใหม ใหกรรมการ ซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระนั้นอยูในตำแหนงเพื่อดำเนินงานตอไปจนกวากรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งใหม เขารับหนาที่ กรรมการซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระอาจไดรับแตงตั้งอีกได แตจะดำรงตำแหนง ติดตอกันเกินสองวาระไมได 233 มาตรา ๔๑ นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระ กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งพนจาก ตำแหนง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีใหออก เพราะมีการกระทำอันเปนการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้ (๔) พนจากการเปนนายจางหรือพนจากการเปนประธานสหภาพแรงงาน แลวแตกรณี (๕) พนจากการเปนพนักงานรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยคุณสมบัติมาตรฐาน สําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (๖) ไมมาประชุมสามครั้งติดตอกันโดยไมมีเหตุผลอันสมควร (๗) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนดตามมาตรา ๓๙ ๑๒ ๑๓ วรรคสาม (๑๐) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามทีร่ ัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๔๗ คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการจะมีหนังสือเชิญผูเชี่ยวชาญ หรือผูทรงคุณวุฒิมาแสดงความคิดเห็นในเรื่องทีเ่ กีย่ วของก็ได มาตรา ๔๖ ในการปฏิบัติการตามหนาที่ ใหคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ มีหนาที่และอำนาจ ดังตอไปนี้ (๑) เขาไปในสถานที่ทำงานของนายจาง สถานที่ที่ลูกจางทำงานอยู หรือสำนักงาน ของนายจาง สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ หรือสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ ในระหวางเวลาทำการ เพื่อสอบถามขอเท็จจริง เรียกตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ไดตามความจำเปน (๒) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลซึ่งเกี่ยวของมาใหถอยคำหรือใหสงสิ่งของ หรือเอกสารที่เกี่ยวของมาเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ มาตรา ๔๕ มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจางตามมาตรา ๔๔ (๑) เมือ่ ไดรับความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลวใหใชบังคับแกรัฐวิสาหกิจทุกแหง ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจใด เห็นสมควรปรับปรุงสภาพการจางที่เกีย่ วกับการเงิน ที่อยูนอกเหนือจากขอบเขตที่กำหนดไวตามมาตรา ๔๔ (๒) จะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และคณะรัฐมนตรีกอนจึงจะดำเนินการได มอบหมาย มาตรา ๔๔ ใหคณะกรรมการมีหนาที่และอำนาจ ดังตอไปนี้ (๑) กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจาง (๒) เสนอคณะรัฐมนตรีกำหนดขอบเขตสภาพการจางที่เกีย่ วกับการเงินสำหรับ รัฐวิสาหกิจที่รัฐวิสาหกิจนั้นอาจดำเนินการเองได (๓) พิจารณาใหความเห็นชอบขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่เกี่ยวกับการเงิน ตามมาตรา ๑๘ (๔) พิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทแรงงานตามมาตรา ๒๒ หรือมาตรา ๓๘ (๕) กำหนดกิจการที่เปนบริการสาธารณะที่สำคัญตามมาตรา ๒๗ (๖) พิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดการกระทำอันไมเปนธรรมตามมาตรา ๙๕ (๗) เสนอความเห็นและใหคำแนะนำแกรัฐวิสาหกิจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทัง้ กำหนดมาตรการและแนวทางในการปองกันและแกไขปญหาแรงงานเพื่อเสริมสรางแรงงานสัมพันธ ในระบบทวิภาคีใหมีความเขมแข็ง (๘) ออกขอบังคับวาดวยการประชุม (๙) แตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการ มาตรา ๔๒ ในกรณีที่กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตำแหนงกอนวาระ ใหรัฐมนตรี แตงตั้งกรรมการแทนตำแหนงที่วางจากผูที่ไดรับเลือกตั้งที่อยูลำดับถัดไป เวนแตวาระของกรรมการเหลือ ไมถึงเกาสิบวันจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได และใหผูไดรับแตงตั้งแทนตำแหนงที่วางนั้นอยูในตำแหนง เทากับวาระทีเ่ หลืออยูของกรรมการซึง่ ตนแทน ในกรณีที่ไมมีผูไดรับการเลื่อนขึน้ เปนกรรมการแทนตามวรรคหนึ่ง ใหเลือกตั้งผูแทน ฝายนายจางหรือผูแทนฝายลูกจาง แลวแตกรณี เพื่อใหรัฐมนตรีแตงตัง้ เปนกรรมการแทน ในกรณีที่กรรมการพนจากตำแหนงกอนวาระ ใหคณะกรรมการประกอบดวย กรรมการทั้งหมดทีม่ ีอยูจนกวาจะมีการแตงตั้งกรรมการตามความในวรรคหนึ่ง มาตรา ๔๓ การประชุมของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ของจำนวนกรรมการทั้งหมด และตองมีกรรมการฝายนายจางและฝายลูกจางอยางนอยฝายละหนึ่งคน จึงจะเปนองคประชุม ในการประชุมของคณะกรรมการ ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติ หนาที่ได ใหทปี่ ระชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของทีป่ ระชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่ง ในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึน้ อีกเสียงหนึ่งเปนเสียง ชี้ขาด ในการประชุมของคณะกรรมการ ถาไมครบองคประชุมตามที่กำหนดไวในวรรคหนึ่ง ใหจัดใหมีการประชุมอีกครั้งหนึ่งภายในสิบหาวันนับแตวันทีน่ ัดประชุมครั้งแรก การประชุมครั้งหลังนี้ แมจะไมมีกรรมการฝายนายจางหรือฝายลูกจางมาประชุม ถามีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ของจำนวนกรรมการทั้งหมดเทาทีม่ ีอยูก็ใหถือเปนองคประชุม 234 มาตรา ๔๘ ใหกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานรับผิดชอบงานเลขานุการของ คณะกรรมการ และใหมีหนาทีแ่ ละอำนาจ ดังตอไปนี้ (๑) รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ (๒) ศึกษา รวบรวมและวิเคราะหขอมูลหรือเอกสารเพื่อประโยชนในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ รวมทั้งสนับสนุนงานดานวิชาการใหแกคณะกรรมการและ คณะอนุกรรมการ (๓) ปฏิบัติหนาทีอ่ ื่นตามที่คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการมอบหมาย ๑๔ ๑๕ หมวด ๕ คณะกรรมการกิจการสัมพันธ มาตรา ๕๕ ใหนายจางอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการกิจการ สัมพันธหรืองดเวนการกระทำใด ๆ อันเปนผลใหกรรมการกิจการสัมพันธไมสามารถทำงานตามหนาที่ รัฐวิสาหกิจ มาตรา ๕๔ ใหคณะกรรมการกิจการสัมพันธมีหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) พิจารณาใหความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ของรัฐวิสาหกิจตลอดจนสงเสริมและพัฒนาการแรงงานสัมพันธ (๒) หาทางปรองดองและระงับขอขัดแยงในรัฐวิสาหกิจนั้น (๓) พิจารณาใหความเห็นในการปรับปรุงระเบียบขอบังคับเกีย่ วกับการทำงาน หรือสภาพการจางอันจะเปนประโยชนตอนายจาง ลูกจาง และรัฐวิสาหกิจนั้น (๔) ปรึกษาหารือเพื่อแกปญหาตามคำรองทุกขของลูกจางหรือสหภาพแรงงาน มาตรา ๕๓ ใหคณะกรรมการกิจการสัมพันธจัดใหมีการประชุมอยางนอยสามเดือน ตอหนึ่งครั้งและใหนำความในมาตรา ๔๓ มาใชบังคับกับการประชุมของคณะกรรมการกิจการสัมพันธ โดยอนุโลม ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร กรรมการกิจการสัมพันธไมนอยกวาหนึ่งในสามอาจรองขอ ใหคณะกรรมการกิจการสัมพันธจัดใหมีการประชุม และคณะกรรมการกิจการสัมพันธตองจัดใหมีการ ประชุมภายในสิบวันนับแตวันที่ไดรับคำรองขอ มาตรา ๕๒ ในกรณีที่กรรมการกิจการสัมพันธพนจากตำแหนงกอนวาระ ใหมีการ แตงตั้งกรรมการกิจการสัมพันธแทนตำแหนงที่วาง และใหผูซง่ึ ไดรับแตงตั้งอยูในตำแหนงเทากับวาระ ที่เหลืออยูของกรรมการซึง่ ไดแตงตั้งไวแลว มาตรา ๕๑ นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระ กรรมการกิจการสัมพันธ พนจากตำแหนง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (๔) พนจากการเปนฝายบริหารหรือเมื่อรัฐวิสาหกิจเห็นควรใหมีการเปลี่ยนผูแทนใหม สำหรับกรณีของผูแทนฝายนายจาง (๕) พนจากการเปนสมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจหรือเมื่อสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจเห็นควรใหมีการเปลี่ยนผูแทนใหมหรือพนจากการเปนลูกจางสำหรับกรณีของผูแทนฝาย ลูกจาง (๖) ไดรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุก เวนแตเปนโทษสำหรับความผิดที่ได กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๔๙ ใหมีคณะกรรมการกิจการสัมพันธขึ้นในรัฐวิสาหกิจแตละแหง ประกอบดวย กรรมการของรัฐวิสาหกิจนั้นคนหนึ่งซึ่งคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจแหงนั้นกำหนด เปนประธานกรรมการ ผูแทนฝายนายจางซึ่งรัฐวิสาหกิจแหงนั้นแตงตั้งจากฝายบริหารของรัฐวิสาหกิจนั้นตามจำนวนที่ รัฐวิสาหกิจกำหนดซึ่งตองไมนอยกวาหาคนแตไมเกินเกาคน และผูแทนฝายลูกจางซึง่ มาจากการเลือกตั้ง ของสมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจซึ่งมิใชฝายบริหารของรัฐวิสาหกิจนั้น มีจำนวนเทากับจำนวน ผูแทนฝายนายจาง เปนกรรมการ ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจัดใหลูกจางที่เปนสมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ซึง่ มิใชฝายบริหารเลือกตั้งผูแทนฝายลูกจางตามวรรคหนึ่ง เพื่อเสนอรัฐวิสาหกิจแตงตั้งเปนกรรมการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการทีส่ หภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจแตละแหงประกาศกำหนด ในรัฐวิสาหกิจใดหากไมมีสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจหรืออยูระหวางที่สหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจตองเลิกไปตามมาตรา ๘๐ หรือมีสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจมากกวาหนึ่งสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจ ใหรัฐวิสาหกิจนั้นจัดใหลูกจางซึง่ มิใชฝายบริหารเลือกตั้งผูแทนฝายลูกจางมีจำนวนเทากับ จำนวนผูแทนฝายนายจางเพื่อเสนอรัฐวิสาหกิจแตงตั้งเปนกรรมการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการ ทีร่ ัฐวิสาหกิจแตละแหงประกาศกำหนด ใหลูกจางซึ่งไดรับเลือกตั้งตามวรรคสามอยูในตำแหนงกรรมการจนกวาจะสามารถ แตงตั้งผูแทนของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตามวรรคหนึ่งได มาตรา ๕๐ กรรมการกิจการสัมพันธมีวาระการดำรงตำแหนงคราวละสองป เมื่อครบกำหนดตามวาระ หากยังมิไดมีการแตงตั้งกรรมการขึ้นใหม ใหกรรมการ ซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระนั้น อยูในตำแหนงเพื่อดำเนินงานตอไปจนกวากรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งใหม เขารับหนาที่ กรรมการซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระอาจไดรับแตงตัง้ อีกได 235 ๑๖ ตอไปได นายจางจะลดคาจางหรือเลิกจางกรรมการกิจการสัมพันธไดตอเมื่อไดรับอนุญาต จากศาลแรงงานกอน เวนแตกรรมการกิจการสัมพันธผูนั้นเกษียณอายุหรือใหความยินยอมเปนหนังสือ มาตรา ๕๖ ใหคณะกรรมการกิจการสัมพันธไดรับเบี้ยประชุมตามที่คณะกรรมการ กำหนด ทั้งนี้ ตองไมเกินอัตรากึง่ หนึ่งของอัตราเบี้ยประชุมของคณะกรรมการ หมวด ๖ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๕๗ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจะมีขนึ้ ไดก็แตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ แหงพระราชบัญญัตินี้ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองมีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหาและคุมครองผลประโยชน เกีย่ วกับสภาพการจางของลูกจาง และสงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางลูกจางกับนายจางและระหวาง ลูกจางดวยกัน มาตรา ๕๘ ลูกจางจำนวนไมนอยกวาสิบคนมีสิทธิจัดตั้งสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจได โดยยื่นคำขอรับใบสำคัญรับรองการจัดตั้งสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ พรอมดวยขอบังคับของสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจตออธิบดี หลักเกณฑและวิธีการขอใบสำคัญรับรองการจัดตั้งสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจใหเปนไป ตามที่อธิบดีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕๙ ขอบังคับของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจอยางนอยตองมีขอความ ดังตอไปนี้ (๑) ชื่อ ซึ่งตองมีคำวา “สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ” กำกับไวหนาชื่อนั้นดวย (๒) วัตถุประสงค (๓) ทีต่ ั้งสำนักงาน (๔) วิธีรับสมาชิกและการขาดจากสมาชิกภาพ (๕) อัตราเงินคาสมัครและคาบำรุง (๖) ขอกำหนดเกี่ยวกับสิทธิและหนาที่ของสมาชิก (๗) ขอกำหนดเกีย่ วกับการจัดการ การใชจาย การเก็บรักษาเงินและทรัพยสินอื่น ตลอดจนการทำบัญชีและการตรวจบัญชี (๘) ขอกำหนดเกี่ยวกับวิธีการพิจารณาในการนัดหยุดงานและวิธีการอนุมัติขอตกลง เกี่ยวกับสภาพการจาง ๑๗ (๙) ขอกำหนดเกีย่ วกับการประชุมใหญ (๑๐) ขอกำหนดเกีย่ วกับคุณสมบัติของกรรมการ จำนวนกรรมการ การเลือกตัง้ กรรมการ วาระของการเปนกรรมการ การพนจากตำแหนงของกรรมการ และการประชุมของ คณะกรรมการ (๑๑) ขอกำหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติของอนุกรรมการและการแตงตั้งอนุกรรมการ มาตรา ๖๐ เมื่ออธิบดีไดรับคำขอและเอกสารประกอบคำขอใบสำคัญรับรองการจัดตั้ง สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจครบถวนแลว ใหอธิบดีออกใบสำคัญรับรองการจัดตั้งแกสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจใหแกผูยื่นคำขอภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับคำขอและเอกสารครบถวนถูกตอง ในกรณีที่พนกำหนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง หรือในกรณีที่อธิบดีมีคำสั่ง ไมออกใบสำคัญรับรองการจัดตั้งสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ผูยื่นคำขอใบสำคัญรับรองการจัดตั้งมีสิทธินำ คดีไปสูศาลแรงงานภายในสามสิบวันนับแตวันทีพ่ นกำหนดระยะเวลาดังกลาวหรือวันที่อธิบดีมีคำสั่ง มาตรา ๖๑ ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจทีไ่ ดรับใบสำคัญรับรองการจัดตั้งตาม มาตรา ๖๐ เปนนิติบุคคล และใหอธิบดีประกาศการรับรองการจัดตั้งสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๖๒ ใหลูกจางซึ่งยื่นคำขอรับใบสำคัญรับรองการจัดตั้งสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๕๘ จัดใหมีการประชุมใหญสามัญครั้งแรกภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันที่ออก ใบสำคัญรับรองการจัดตั้ง เพื่อเลือกตัง้ คณะกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจและมอบหมาย การทั้งปวงใหแกคณะกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ เมือ่ ที่ประชุมใหญไดเลือกตั้งคณะกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจแลว ใหมีหนังสือ แจงตออธิบดีภายในสิบสี่วันนับแตวันที่ทปี่ ระชุมใหญลงมติพรอมนำสงรายชื่อและที่อยูของกรรมการ มาตรา ๖๓ สมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองเปนลูกจาง ลูกจางซึ่งเปนฝายบริหารจะเปนสมาชิกในสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจที่ลูกจางอื่นได จัดตั้งหรือเปนสมาชิกอยูไมได และลูกจางอื่นจะเปนสมาชิกในสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจทีล่ ูกจางซึ่งเปน ฝายบริหารดังกลาวไดจัดตั้งขึ้นหรือเปนสมาชิกอยูไมได มาตรา ๖๔ สมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจมีสิทธิขอตรวจสอบทะเบียนสมาชิก เอกสารหรือบัญชี เพื่อทราบการดำเนินกิจการของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไดในเวลาเปดทำการตามที่ คณะกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจกำหนดไว ในการขอตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง เจาหนาที่ของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองให ความสะดวกตามสมควร 236 รัฐวิสาหกิจ ๑๘ มาตรา ๖๕ สมาชิกภาพของสมาชิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจสิ้นสุดลง เมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ที่ประชุมใหญใหออกเพราะมีเหตุตามที่กำหนดในขอบังคับของสหภาพแรงงาน ๑๙ มาตรา ๖๘ ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจมีคณะกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ เปนผูดำเนินกิจการและเปนผูแทนของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจในกิจการที่เกีย่ วกับบุคคลภายนอก เพื่อการนี้ คณะกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจะมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน ทำแทนก็ได คณะกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจอาจแตงตัง้ คณะอนุกรรมการสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจเพื่อปฏิบัติงานตามทีม่ อบหมายได มาตรา ๖๙ ลูกจางซึ่งเปนกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจมีสิทธิลา ดังตอไปนี้ (๑) เพื่อไปดำเนินกิจการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจในฐานะผูแทนลูกจางในการเจรจา การไกลเกลี่ย การชี้ขาดขอพิพาทแรงงาน (๒) เพื่อไปประชุม อบรม หรือสัมมนา ตามทีท่ างราชการกำหนดอันเกีย่ วกับกิจการ ของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (๓) เพื่อไปประชุมสหภาพแรงงานหรือสัมมนาใด ๆ ตามทีส่ หภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ และนายจางจะไดตกลงกัน (๔) เพื่อปฏิบัติหนาทีก่ รรมการฝายลูกจางในคณะกรรมการหรือกรรมการใน คณะกรรมการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด การลาตามวรรคหนึ่ง ใหลูกจางดังกลาวแจงใหนายจางทราบลวงหนาถึงเหตุที่ลา โดยชัดแจง พรอมทั้งแสดงหลักฐานที่เกี่ยวของ และใหถือวาลูกจางไดมาทำงานในวันนั้น (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามที่กำหนดในขอบังคับของสหภาพแรงงาน มาตรา ๖๖ เพื่อประโยชนของสมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ สหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจอาจดำเนินการ ดังตอไปนี้ (๑) ยื่นขอเรียกรองตอฝายนายจางเกีย่ วกับสภาพการจางแทนสมาชิก (๒) ยื่นคำรองทุกขตอคณะกรรมการกิจการสัมพันธเพื่อพิจารณาตามมาตรา ๕๔ (๔) (๓) จัดใหมีการใหบริการเพื่อสวัสดิการของสมาชิก หรือจัดสรรเงินหรือทรัพยสิน เพื่อสาธารณประโยชน ทั้งนี้ ตามทีท่ ี่ประชุมใหญเห็นสมควร (๔) จัดใหมีการหารายไดเพื่อนำมาดำเนินการกิจการของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ และเพื่อจัดสวัสดิการใหแกสมาชิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (๕) เรียกเก็บเงินคาสมัครเปนสมาชิกและเงินคาบำรุงตามอัตราที่กำหนดในขอบังคับ ของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (๖) ดำเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคที่บัญญัติไวในมาตรา ๕๗ (๗) ดำเนินการและใหความรวมมือเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ และรักษาผลประโยชน รัฐวิสาหกิจ ของรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๗๐ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจะกระทำการดังตอไปนี้ไดก็แตโดยมติของ ที่ประชุมใหญ (๑) แกไขเพิ่มเติมขอบังคับ (๒) เลือกตั้งกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ เลือกตัง้ ผูสอบบัญชี รับรองงบดุล รายงานประจำปและงบประมาณ (๓) จัดใหมีการใหบริการเพื่อสวัสดิการของสมาชิก หรือจัดสรรเงินหรือทรัพยสิน เพื่อสาธารณประโยชน (๔) รวมจัดตั้งหรือเขาเปนสมาชิกสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๘๖ หรือสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๘๘ (๕) นัดหยุดงานเมื่อมีขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมไดตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๖) ควบสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเขากัน (๗) เลิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (๘) จัดตั้งสหภาพแรงงานตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธในกรณีทสี่ หภาพแรงงาน พนสภาพการเปนรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๘๔ (๙) จัดตั้งสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๘๕ มาตรา ๖๗ เมื่อสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจปฏิบัตกิ ารดังตอไปนี้ เพื่อประโยชนของ สมาชิกอันมิใชเปนกิจการเกี่ยวกับการเมือง ใหลูกจาง สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ กรรมการสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจ อนุกรรมการและเจาหนาที่ของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไดรับการยกเวนไมตองถูก กลาวหาหรือฟองรองทางอาญา ทางแพง หรือทางปกครอง (๑) เขารวมเจรจาทำความตกลงกับนายจางเพื่อเรียกรองเกี่ยวกับสภาพการจาง (๒) ชวยเหลือ ชักชวน หรือสนับสนุนใหสมาชิกนัดหยุดงาน (๓) ชี้แจงหรือโฆษณาขอเท็จจริงเกีย่ วกับขอเรียกรองหรือขอพิพาทแรงงาน หรือการดำเนินงานของสหภาพแรงงาน (๔) จัดใหมีการชุมนุมหรือเขารวมโดยสงบในการนัดหยุดงาน การยกเวนตามวรรคหนึ่ง ไมรวมถึงกรณีเปนการกระทำความผิดทางอาญาในลักษณะ ความผิดเกีย่ วกับการกอการราย เกี่ยวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน เกี่ยวกับชีวิตและรางกาย เกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง เกีย่ วกับทรัพย และความผิดในทางแพงทีเ่ กีย่ วเนื่องกับการกระทำความผิด ทางอาญาในลักษณะดังกลาว 237 ๒๐ มาตรา ๗๑ เมือ่ ทีป่ ระชุมใหญมีมติใหแกไขเพิ่มเติมขอบังคับแลว ใหสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจมีหนังสือแจงตออธิบดีภายในสิบสี่วันนับแตวันที่ทปี่ ระชุมใหญลงมติ ในกรณีที่พนกำหนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง หรือในกรณีที่อธิบดีมีคำสั่ง ไมออกใบสำคัญรับรองการแกไขเพิ่มเติมขอบังคับ ผูยื่นคำขอใบสำคัญดังกลาวมีสิทธินำคดี ไปสูศาลแรงงานภายในสามสิบวันนับแตวันทีพ่ นกำหนดระยะเวลาดังกลาวหรือวันที่อธิบดีมีคำสั่ง มาตรา ๗๒ เมือ่ ไดเลือกตั้งกรรมการขึ้นใหมตามมติของที่ประชุมใหญแลว ใหสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจมีหนังสือแจงตออธิบดีภายในสิบสี่วันนับแตวันที่ที่ประชุมใหญลงมติ พรอมนำสง รายชื่อและที่อยูของกรรมการใหมดวย ในกรณีที่พนกำหนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง หรือในกรณีที่อธิบดีมีคำสั่งไมออก ใบสำคัญรับรองรายชื่อกรรมการใหม ผูยื่นคำขอใบสำคัญดังกลาวมีสิทธินำคดีไปสูศาลแรงงานภายใน สามสิบวันนับแตวันที่พนกำหนดระยะเวลาดังกลาวหรือวันทีอ่ ธิบดีมีคำสั่ง มาตรา ๗๓ เมื่ออธิบดีออกใบสำคัญรับรองตามมาตรา ๗๑ หรือมาตรา ๗๒ แลว ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจประกาศขอบังคับหรือรายชื่อกรรมการใหมดังกลาวไวในที่แลเห็นไดงาย ณ สำนักงานของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๗๔ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองจัดใหมีทะเบียนสมาชิกใหเปนปจจุบัน ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจประกาศวันและเวลาทำการไวที่สำนักงานของสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๗๕ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองจัดใหมีการตรวจสอบบัญชีทุกปและตอง เสนองบดุลพรอมดวยรายงานการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีตอที่ประชุมใหญ ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเก็บรักษาบัญชีไวเปนระยะเวลาไมนอยกวาสามป มาตรา ๗๖ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจในรัฐวิสาหกิจเดียวกันตั้งแตสองสหภาพขึ้นไป อาจควบเขากันเปนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเดียวกันได การควบสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเขากันตามวรรคหนึ่ง ตองไดรับมติของที่ประชุมใหญ ของแตละสหภาพดวยคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด และตองมีหนังสือแจงตออธิบดี พรอมนำสงสำเนารายงานการประชุมใหญของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจซึง่ ลงมติใหควบเขากันไปดวย ๒๑ มาตรา ๗๗ เมื่อสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไดดำเนินการตามมาตรา ๗๖ แลว ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจแจงเปนหนังสือไปยังเจาหนี้ทั้งปวงของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ เพื่อให ทราบถึงการที่ประสงคจะควบสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเขากัน และขอใหเจาหนี้ผูมีขอคัดคานอยางหนึ่ง อยางใดในการควบสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเขากันนั้น สงคำคัดคานไปยังสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่แจง ถาไมมีเจาหนี้คัดคานภายในกำหนดเวลาดังกลาวนั้น ใหถือวาไมมีคำคัดคาน และ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจอาจควบเขากันได ถามีเจาหนี้คัดคาน สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจะควบเขากันมิไดจนกวาจะไดชำระหนี้ หรือไดใหประกันเพื่อหนี้นั้นแลว มาตรา ๗๘ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจทีต่ ั้งขึน้ ใหมโดยควบเขากันนั้น ตองยื่นคำขอรับ ใบสำคัญรับรองการจัดตั้งสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจใหมเปนหนังสือตออธิบดี ใหนำมาตรา ๕๗ ถึงมาตรา ๗๕ มาใชบังคับแกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นใหม โดยอนุโลม มาตรา ๗๙ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจใหมยอมไดไปทั้งทรัพยสิน หนี้สิน สิทธิ หนาที่ และความรับผิดของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเดิมที่ไดควบเขากันนั้น สมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเดิมที่ไดควบเขากันนั้น ยอมเปนสมาชิกของ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจใหม มาตรา ๘๐ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจยอมเลิกดวยเหตุใดเหตุหนึ่ง ดังตอไปนี้ (๑) เมื่อมีเหตุตามทีข่ อบังคับของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจกำหนดใหเลิก (๒) ที่ประชุมใหญมีมติใหเลิก (๓) ศาลแรงงานมีคำพิพากษาหรือคำสั่งใหเลิกตามมาตรา ๘๑ (๔) ลมละลาย การเลิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตาม (๑) และ (๒) ใหกรรมการของสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจที่อยูในตำแหนงขณะมีการเลิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจแจงใหอธิบดีประกาศการเลิกสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจในราชกิจจานุเบกษา กรณีที่ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงทีส่ ุดตาม (๓) หรือ (๔) ใหกรรมการของสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจแจงคำพิพากษาหรือคำสั่งดังกลาวใหอธิบดีทราบ และใหอธิบดีประกาศการเลิก สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจในราชกิจจานุเบกษา 238 ๒๒ มาตรา ๘๑ ใหอธิบดียื่นคำรองตอศาลแรงงานเพื่อพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งใหเลิก สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไดเมื่อปรากฏวา (๑) สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจดำเนินการขัดตอวัตถุประสงค หรือขัดตอกฎหมาย (๒) สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจไมดำเนินกิจการติดตอกันเปนเวลาเกินสองป ใหอธิบดีมีอำนาจในการดำเนินการใด ๆ เพื่อใหไดมาซึ่งขอเท็จจริงหรือหลักฐานเกี่ยวกับ การดำเนินกิจการของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๘๒ เมื่อสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตองเลิกตามมาตรา ๘๐ (๑) (๒) หรือ (๓) หรือมาตรา ๘๑ ใหแตงตั้งผูชำระบัญชีและใหนำบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย การชำระบัญชีหางหุนสวนสามัญจดทะเบียน หางหุนสวนจำกัดและบริษัทจำกัด มาใชบังคับแกการชำระ บัญชีสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจโดยอนุโลม มาตรา ๘๓ เมื่อชำระบัญชีแลว ถามีทรัพยสินเหลืออยูจะแบงใหแกสมาชิกของสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจไมได ทรัพยสินนั้นจะตองโอนไปใหแกนิติบุคคลอืน่ ตามที่ไดระบุไวในขอบังคับตาม มาตรา ๕๙ หรือในกรณีที่ขอบังคับไมไดกำหนดไวใหเปนไปตามมติของที่ประชุมใหญ ในกรณีที่ในขอบังคับหรือที่ประชุมใหญ มิไดระบุใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจใด เปนผูรับทรัพยสินที่เหลือนั้น ใหผูชำระบัญชีมอบทรัพยสินนั้นใหแกมูลนิธิหรือสมาคมที่มีวัตถุประสงค เพื่อการสงเคราะหชวยเหลือหรือสงเสริมสวัสดิการของผูใชแรงงาน มาตรา ๘๔ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจใดตองพนสภาพจากความเปนรัฐวิสาหกิจ ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจในรัฐวิสาหกิจนั้นยังคงสภาพความเปนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตอไป ในกรณีที่สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตามวรรคหนึ่งประสงคจะเปนสหภาพแรงงานตาม กฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจนั้นดำเนินการจัดตั้งสหภาพแรงงาน ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธภายในกำหนดระยะเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวัน ในกรณีที่ไมดำเนินการภายในระยะเวลาตามวรรคสอง ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจนั้น เลิกและใหดำเนินการชำระบัญชีตามที่กำหนดไวในมาตรา ๘๒ และมาตรา ๘๓ สหภาพแรงงานที่จัดตั้งขึ้นใหมตามวรรคสองยอมไดไปทั้งทรัพยสิน หนี้สิน สิทธิ หนาที่ และความรับผิดของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเดิม มาตรา ๘๕ ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจหลายแหงควบเขากัน หรือรัฐวิสาหกิจแหงหนึ่งรวมเขา เปนสวนหนึ่งของรัฐวิสาหกิจอีกแหงหนึ่ง ใหสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจของรัฐวิสาหกิจเดิม ที่ควบเขากันหรือที่รวมเขากันนั้นเปนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจของรัฐวิสาหกิจใหม และใหสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจใหมนั้นดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนใหถกู ตอง สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจใหมตามวรรคหนึ่ง ยอมไดไปทั้งทรัพยสิน หนี้สิน สิทธิ หนาที่ และความรับผิดของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจเดิม ๒๓ หมวด ๗ สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๘๖ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตั้งแตสองสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจขึน้ ไปอาจ รวมกันจัดตั้งเปนสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจเพื่อสงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจและคุมครองผลประโยชนของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจและลูกจางได โดยยื่นคำขอรับ ใบสำคัญรับรองการจัดตั้งสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจเปนหนังสือตออธิบดี พรอมดวยขอบังคับของสหพันธ แรงงานรัฐวิสาหกิจ ใหสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจที่ไดรับใบสำคัญรับรองการจัดตั้งแลวเปนนิติบุคคล มาตรา ๘๗ ใหนำบทบัญญัติวาดวยสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจในมาตรา ๕๙ ถึงมาตรา ๘๓ มาใชบังคับแกสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจโดยอนุโลม หมวด ๘ สภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๘๘ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจหรือสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจหรือสหภาพ แรงงานหรือสหพันธแรงงานตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธไมนอยกวาสิบแหงอาจตั้งเปน สภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ เพื่อสงเสริมการศึกษาและสงเสริมการแรงงานสัมพันธได โดยยื่นคำรองขอใบสำคัญการจัดตั้งสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจเปนหนังสือตออธิบดี พรอมดวยขอบังคับของสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ สภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจที่จะจัดตั้งขึ้นตามวรรคหนึ่ง ตองมีสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจหรือสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจอยางนอยหนึ่งแหงเขารวมในการจัดตั้งดวย ใหสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจทีไ่ ดรับใบสำคัญรับรองการจัดตั้งเปนนิติบุคคล มาตรา ๘๙ ใหนำบทบัญญัติวาดวยสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจในมาตรา ๕๙ ถึงมาตรา ๘๓ มาใชบังคับแกสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจโดยอนุโลม มาตรา ๙๐ สหภาพแรงงานและสหพันธแรงงานตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ อาจเขาเปนสมาชิกสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจได 239 หมวด ๙ การกระทำอันไมเปนธรรม ๒๔ ๒๕ มาตรา ๙๕ เมื่อไดรับคำรองกลาวหาตามมาตรา ๙๔ แลว ใหคณะกรรมการพิจารณา และวินิจฉัยชี้ขาดและออกคำสั่งภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ไดรับคำรองกลาวหา และมีอำนาจออกคำสั่ง ใหนายจางรับลูกจางกลับเขาทำงานหรือใหจายคาเสียหาย หรือใหผูฝาฝนปฏิบัติหรือไมปฏิบัติอยางหนึ่ง อยางใดตามที่เห็นสมควรได รัฐมนตรีมีอำนาจขยายระยะเวลาใหคณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดไดไมเกิน สามสิบวัน ใหคณะกรรมการแจงคำสั่งตามวรรคหนึ่งใหผูกลาวหาและผูถูกกลาวหาทราบ ในกรณีผูกลาวหาหรือผูถกู กลาวหาไมเห็นดวยกับคำสั่งของคณะกรรมการมีสิทธินำคดี ไปสูศาลแรงงานภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือแจง การนำคดีไปสูศาลแรงงานไมเปนเหตุใหทุเลาการปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ เวนแตไดรับอนุญาตจากศาลแรงงานโดยมีหลักประกันที่เชื่อถือได การนำคดีไปสูศาลแรงงานในกรณีที่คำสั่งของคณะกรรมการกำหนดใหผูถูกกลาวหา จายเงินดวย ใหผูถูกกลาวหานั้นวางเงินตอศาลแรงงานโดยครบถวนตามคำสั่งของคณะกรรมการจึงจะ ฟองคดีได ในกรณีทผี่ ูถกู กลาวหาไมไดปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการภายในระยะเวลาที่ คณะกรรมการกำหนด และไมไดนำคดีไปสูศาลแรงงานภายในระยะเวลาตามวรรคสี่ ใหคำสั่งนั้นเปนที่สุด เมือ่ คดีถงึ ที่สุดและผูถูกกลาวหามีหนาที่ตองจายเงินจำนวนใดใหแกลูกจาง ในกรณีที่มีการวางเงินตอศาล ใหศาลแรงงานมีอำนาจจายเงินทีผ่ ูถูกกลาวหาวางไวตอศาลแรงงานใหแก ลูกจางผูกลาวหา มาตรา ๙๔ เมือ่ มีการฝาฝนมาตรา ๙๑ มาตรา ๙๒ หรือมาตรา ๙๓ ผูเสียหาย เนื่องจากการฝาฝนอาจยื่นคำรองกลาวหาผูฝาฝนตอคณะกรรมการไดภายในหกสิบวันนับแตวันที่ มีการฝาฝน หรือสมาชิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเปนผูดำเนินการในการเรียกรอง เวนแตบุคคลดังกลาวได กระทำการ ดังตอไปนี้ (๑) ทุจริตตอหนาที่หรือกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแกนายจาง (๒) จงใจทำใหนายจางไดรับความเสียหาย (๓) ฝาฝนขอบังคับ ระเบียบ หรือคำสั่งอันชอบดวยกฎหมายของนายจาง โดยนายจาง ตักเตือนเปนหนังสือแลวและยังไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่ลูกจางไดกระทำความผิด เวนแตกรณีทรี่ ายแรง นายจางไมจำตองตักเตือน (๔) ละทิง้ หนาที่เปนเวลาสามวันทำงานติดตอกันโดยไมมีเหตุผลอันสมควร (๕) กระทำการใด ๆ เปนการยุยง สนับสนุน หรือชักชวนใหมีการฝาฝนขอตกลง เกี่ยวกับสภาพการจางหรือคำชี้ขาด มาตรา ๙๑ หามนายจาง (๑) เลิกจางหรือกระทำการใดๆ อันอาจเปนผลใหลูกจางไมสามารถทนทำงานอยูตอไป ไดเพราะเหตุทลี่ ูกจางกระทำการหรือกำลังจะกระทำการ ดังตอไปนี้ (ก) จัดตั้งสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (ข) เปนสมาชิกหรือเปนกรรมการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ กรรมการสหพันธ แรงงานรัฐวิสาหกิจ หรือกรรมการสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ (ค) เปนกรรมการกิจการสัมพันธ กรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธหรือ อนุกรรมการ (ง) สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจซึ่งลูกจางเปนสมาชิกไดยื่นขอเรียกรองหรือเจรจา ตามพระราชบัญญัตินี้ (จ) ฟองรองหรือเปนพยานในคดีแรงงาน (ฉ) ใหหลักฐานตอพนักงานประนอมขอพิพาทแรงงาน คณะกรรมการ อธิบดี ศาลแรงงาน หรือพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายเกีย่ วกับแรงงาน (๒) เลิกจางหรือกระทำการใด ๆ อันอาจเปนผลใหลูกจางไมสามารถทนทำงานอยูตอไป ไดเพราะเหตุทลี่ ูกจางนั้นเปนสมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (๓) ขัดขวางในการที่ลูกจางเปนสมาชิกหรือใหลูกจางออกจากการเปนสมาชิกของ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ กรรมการกิจการสัมพันธ หรือให หรือตกลงจะใหเงิน ทรัพยสินหรือประโยชน อื่นใดแกลูกจางหรือเจาหนาที่ของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ เพื่อมิใหสมัครหรือรับสมัครลูกจางเปน สมาชิก หรือเพื่อใหออกจากการเปนสมาชิกของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (๔) ขัดขวางการดำเนินการของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ หรือสหพันธแรงงาน รัฐวิสาหกิจ หรือขัดขวางการใชสิทธิของลูกจางในการเปนสมาชิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (๕) เขาแทรกแซงการดำเนินการของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ หรือสหพันธแรงงาน รัฐวิสาหกิจโดยมิชอบดวยกฎหมาย มาตรา ๙๒ หามผูใด (๑) บังคับ หรือขูเ ข็ญโดยทางตรง หรือทางออม ใหลูกจางตองเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจ หรือตองออกจากการเปนสมาชิกสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ (๒) กระทำการใดๆ อันอาจเปนผลใหนายจางฝาฝนมาตรา ๙๓ มาตรา ๙๓ ในระหวางที่ขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจางตามมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง หรือคำชี้ขาดตามมาตรา ๒๓ มีผลใชบังคับ หามนายจางเลิกจางลูกจางซึ่งเปนกรรมการ อนุกรรมการ 240 ๒๖ มาตรา ๙๖ การดำเนินคดีอาญาอันเนื่องมาจากการฝาฝนมาตรา ๙๑ มาตรา ๙๒ หรือมาตรา ๙๓ จะดำเนินการไดตอเมือ่ ผูเสียหายเนื่องจากการฝาฝนไดยื่นคำรองกลาวหาผูฝาฝน ตามมาตรา ๙๔ และผูถูกกลาวหาไมปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการตามมาตรา ๙๕ โดยไมไดฟองคดี ตอศาลแรงงานดวย ไมเกินหาพันบาท ไมเกินหาพันบาท ๒๗ มาตรา ๑๐๐ ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง ตองระวางโทษปรับทางปกครอง มาตรา ๑๐๐ ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง ตองระวางโทษปรับเปนพินัย มาตรา ๑๐๑ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๗๔ หรือ มาตรา ๗๕ ตองระวางโทษปรับเปนพินัยไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หมวด ๑๐ บทกำหนดโทษ สวนที่ ๑ โทษปรับทางปกครอง มาตรา ๑๐๑ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๗๔ หรือมาตรา ๗๕ ตองระวางโทษปรับทางปกครองไมเกินหนึ่งหมื่นบาท สวนที่ ๑ โทษปรับเปนพินัย มาตรา ๑๐๓ ผูชำระบัญชีผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๓ ตองระวางโทษ ปรับเปนพินัยทางปกครองไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๓ ผูชำระบัญชีผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๓ ตองระวางโทษ ปรับทางปกครองไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๒ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๗๔ หรือมาตรา ๗๕ ซึง่ มาตรา ๗๘ วรรคสอง มาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๙ ใหนำบทบัญญัติมาตราดังกลาวมาใชบังคับโดย อนุโลม ตองระวางโทษปรับเปนพินัยไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๒ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๗๔ หรือมาตรา ๗๕ ซึ่งมาตรา ๗๘ วรรคสอง มาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๙ ใหนำบทบัญญัติมาตราดังกลาวมาใชบังคับโดยอนุโลม ตองระวางโทษปรับทางปกครองไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๙๗ ใหศาลแรงงานมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคำสั่งในเรื่อง เกี่ยวกับความผิดทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนำบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับ แกการดำเนินกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับความผิดทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้โดยอนุโลม มาตรา ๙๗ ใหศาลแรงงานมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคำสั่งในเรื่อง เกี่ยวกับความผิดทางพินัยตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๙๘ ผูใดฝาฝนมาตรา ๒๕ ตองระวางโทษปรับทางปกครองไมเกินหาหมื่นบาท มาตรา ๑๐๔ ผูชำระบัญชีผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๓ ซึ่งมาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๙ ใหนำบทบัญญัติมาตราดังกลาวมาใชบังคับโดยอนุโลม ตองระวางโทษปรับเปนพินัยไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๔ ผูชำระบัญชีผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๓ ซึ่งมาตรา ๘๗ และมาตรา ๘๙ ใหนำบทบัญญัติมาตราดังกลาวมาใชบังคับโดยอนุโลม ตองระวางโทษปรับทางปกครองไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๙๙ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๕๕ ตองระวางโทษ ปรับทางปกครองไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๕ ผูใดใชคำวา “สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ” “สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ” หรือ “สภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ” หรืออักษรตางประเทศซึง่ มีความหมายทำนองเดียวกัน ประกอบกับชื่อในดวงตราปายชื่อ จดหมาย ใบแจงความ หรือเอกสารอยางอื่นโดยมิไดเปนสหภาพแรงงาน มาตรา ๙๘ ผูใดฝาฝนมาตรา ๒๕ ตองระวางโทษปรับเปนพินัยไมเกินหาหมื่นบาท มาตรา ๙๙ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๕๕ ตองระวางโทษ ปรับเปนพินัยไมเกินหนึ่งหมื่นบาท 241 ๒๘ มาตรา ๑๐๗ ในคดีความผิดทางพินัยปกครอง ใหอธิบดีมีอำนาจกำหนดคาปรับเปนพินัย ถาผูกระทำผิดทางพินัยไมชำระคาปรับเปนพินัยภายในระยะเวลาที่อธิบดีกำหนด ใหอธิบดีดำเนินการ เพื่อฟองคดีตอศาลแรงงานตอไป ๒๙ เสนอใหตัดมาตรา ๑๐๙ ออก มาตรา ๑๑๒ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคำชี้ขาดของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๒ หรือมาตรา ๓๘ ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๑๑ ที่ปรึกษาฝายนายจางหรือสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๑๖ ผูใดเรียก รับ หรือยอมจะรับเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดจากผูหนึ่งผูใดเพื่อกระทำการอันเปนเหตุ ใหนายจางหรือสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจซึ่งตนเปนที่ปรึกษาตองเสียผลประโยชนอันควรได ตองระวาง โทษจำคุกหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๑๐ ผูแทนฝายนายจางหรือผูแทนฝายสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ตามมาตรา ๑๓ หรือผูแทนซึ่งเปนผูเขารวมในการเจรจาตามมาตรา ๑๕ ผูใดเรียก รับ หรือยอมจะรับเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอนื่ ใดจากผูหนึ่งผูใด เพื่อกระทำการอันเปนเหตุใหรัฐวิสาหกิจหรือสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจตองเสียผลประโยชนอันควรได ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทัง้ จำทั้งปรับ สวนที่ ๒ โทษอาญา มาตรา ๑๐๙ เพื่อประโยชนในการอำนวยความสะดวกในการชำระคาปรับ ทางปกครองจะกำหนดใหชำระผานระบบอิเล็กทรอนิกสก็ได เสนอใหตัดมาตรา ๑๐๘ ออก มาตรา ๑๐๘ ในกรณีดังตอไปนี้ ใหคดีทางปกครองนั้นเปนอันระงับไป (๑) อธิบดียังไมไดนำคดีไปสูศาลแรงงาน แมจะลวงเลยกำหนดระยะเวลาที่อธิบดี กำหนดแลวก็ตาม ผูกระทำผิดทางปกครองไดนำคาปรับทางปกครองตามที่อธิบดีกำหนดมาชำระ (๒) ผูกระทำผิดทางปกครองชำระคาปรับทางปกครองในอัตราสูงสุดของความผิด ทางปกครองนั้นก็ดี หรือไดชำระคาปรับทางปกครองตามที่อธิบดีกำหนดภายในระยะเวลาที่แจง เปนหนังสือก็ดี หรือชำระคาปรับทางปกครองตามที่ศาลแรงงานมีคำสั่งก็ดี รัฐวิสาหกิจ สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ หรือสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ ตองระวางโทษปรับ ทางปกครองไมเกินหนึ่งหมืน่ บาท มาตรา ๑๐๕ ผูใดใชคำวา “สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ” “สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ” หรือ “สภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ” หรืออักษรตางประเทศซึ่งมีความหมายทำนองเดียวกัน ประกอบกับชื่อในดวงตรา ปายชื่อ จดหมาย ใบแจงความ หรือเอกสารอยางอื่นโดยมิไดเปนสหภาพ แรงงานรัฐวิสาหกิจ สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ หรือสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจ ตองระวาง โทษปรับเปนพินัยไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๐๖ ในคดีเกี่ยวกับความผิดทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ถามิไดนำคดี ไปสูศาลแรงงานภายในกำหนดสองปนับแตวันที่กระทำความผิดทางปกครอง เปนอันขาดอายุความ มาตรา ๑๐๖ ในคดีเกี่ยวกับความผิดทางพินัยตามพระราชบัญญัตินี้ ถามิไดนำคดีไปสู ศาลแรงงานภายในกำหนดสองปนับแตวันที่กระทำความผิด เปนอันขาดอายุความ มาตรา ๑๐๗ ในคดีความผิดทางปกครอง ใหอธิบดีมีอำนาจกำหนดคาปรับทางปกครอง ตามความรายแรงแหงพฤติการณที่กระทำและมีหนังสือแจงใหผูกระทำผิดทางปกครองชำระคาปรับ ดังกลาวภายในระยะเวลาที่อธิบดีกำหนด ถาผูกระทำผิดทางปกครองไมชำระคาปรับทางปกครองภายในระยะเวลาที่อธิบดีกำหนด ใหอธิบดีนำคดีไปสูศาลแรงงาน โดยยื่นคำรองตอศาลแรงงานเพื่อศาลแรงงานพิจารณามีคำสั่งลงโทษปรับ ทางปกครองแกผูกระทำผิดทางปกครองในจำนวนที่ศาลแรงงานเห็นสมควร ถาผูกระทำผิดทางปกครองไมชำระคาปรับทางปกครองตามคำสั่งศาลแรงงาน ใหศาลแรงงานมีอำนาจยึดทรัพยสินของผูกระทำผิดนั้นมาดำเนินการขายทอดตลาดเพื่อชดใชคาปรับทาง ปกครอง ในกรณีที่ผูกระทำผิดทางปกครองไมมีทรัพยสินใหยึด หรือมีทรัพยสินที่ยึดแตไมเพียงพอ แกคาปรับทางปกครอง ใหศาลแรงงานมีอำนาจออกคำสั่งกำหนดใหผูกระทำผิดนั้นทำงานบริการสังคม หรือทำงานสาธารณประโยชนตามที่ศาลแรงงานเห็นสมควรและผูกระทำความผิดนั้นยินยอมแทนคาปรับ ทางปกครองก็ได บทบัญญัติมาตรานี้ ไมเปนการตัดสิทธิของผูที่ไดรับแจงเปนหนังสือจากอธิบดีใหชำระ คาปรับทางปกครองที่จะนำคดีไปสูศาลแรงงาน แตจะตองวางเงินเทาจำนวนคาปรับทางปกครองที่อธิบดี กำหนดตอศาลกอน ในกรณีที่อธิบดีเปนฝายนำคดีไปสูศาลแรงงาน ใหศาลแรงงานมีคำสั่งใหผูที่ไดรับแจงเปน หนังสือจากอธิบดีมาศาลเพื่อพิจารณาและมีคำสั่งตอไป 242 ๓๐ มาตรา ๑๑๓ นายจางผูใดฝาฝนมาตรา ๒๔ ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทัง้ ปรับ มาตรา ๑๑๔ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๖ หรือมาตรา ๒๗ ตองระวางโทษ จำคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๑๕ ผูใดดำเนินการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ หรือสภาองคการลูกจางแรงงานรัฐวิสาหกิจโดยไมไดรับใบสำคัญรับรองการจัดตั้งตองระวางโทษจำคุก ไมเกินหนึ่งปหรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทัง้ ปรับ มาตรา ๑๑๖ ผูใดฝาฝนมาตรา ๙๑ มาตรา ๙๒ หรือมาตรา ๙๓ ตองระวางโทษจำคุก ไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา ๑๑๗ บรรดาความผิดตามสวนนี้ ถาเจาพนักงานดังตอไปนี้ เห็นวาผูกระทำผิด ไมควรไดรับโทษจำคุกหรือไมควรถูกฟองรอง ใหมีอำนาจเปรียบเทียบดังนี้ (๑) อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย สำหรับความผิดทีเ่ กิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร (๒) ผูวาราชการจังหวัดหรือผูซึ่งผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย สำหรับความผิด ที่เกิดขึ้นในจังหวัดอื่น ในกรณีที่มีการสอบสวน ถาพนักงานสอบสวนพบวาบุคคลใดกระทำความผิด ทีเ่ จาพนักงานมีอำนาจเปรียบเทียบไดตามวรรคหนึ่ง และบุคคลนั้นยินยอมใหเปรียบเทียบ ใหพนักงานสอบสวนสงเรื่องมายังอธิบดี หรือผูวาราชการจังหวัด แลวแตกรณี ภายในเจ็ดวัน นับแตวันที่ผูนั้นแสดงความยินยอมใหเปรียบเทียบ เมื่อผูกระทำผิดไดชำระเงินคาปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวัน ใหถือวา คดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถาผูกระทำผิดไมยินยอมใหเปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแลวไมชำระเงินคาปรับภายใน กำหนดเวลาตามวรรคสาม ใหดำเนินคดีตอไป บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๑๘ ใหคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธตามพระราชบัญญัติแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ ๒๕๔๓ ซึ่งดำรงตำแหนงอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ดำรง ตำแหนงตอไปจนกวาจะครบวาระ ๓๑ การนับวาระการดำรงตำแหนงของกรรมการแรงงานสัมพันธ ใหนับรวมวาระ การดำรงตำแหนงตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ ๒๕๑๘ เปนวาระการดำรงตำแหนง ตามพระราชบัญญัตินี้ดวย มาตรา ๑๑๙ ใหคณะกรรมการกิจการสัมพันธตามพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจ สัมพันธ พ.ศ ๒๕๔๓ ซึ่งดำรงตำแหนงอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ดำรงตำแหนงตอไป จนกวาจะครบวาระ มาตรา ๑๒๐ บรรดาคำรองกลาวหา ขอเรียกรอง ขอพิพาทแรงงาน คำวินิจฉัยชี้ขาด หรือคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ หรือคดีซึ่งเกิดขึน้ และยังไมถึงที่สุด แลวแตกรณี กอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธที่ใชบังคับอยู ในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับจนกวาคำรองกลาวหา ขอเรียกรอง ขอพิพาทแรงงาน ขอตกลง เกีย่ วกับสภาพการจาง คำวินิจฉัยชี้ขาด คำสั่ง หรือคดีนั้นจะถึงที่สุด มาตรา ๑๒๑ สหภาพแรงงานและสหพันธแรงงานทีไ่ ดจดทะเบียนจัดตั้งขึน้ ตามพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ ๒๕๔๓ ใหถือวาเปนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ และสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจที่ไดรับใบสำคัญรับรองการจัดตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๒๒ ใหมีการจัดทำแผนบริการขัน้ ต่ำที่จำเปนในกรณีที่จะมีการปดงาน หรือการนัดหยุดงานตามมาตรา ๒๗ ภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ในกรณีที่การจัดทำแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนไมแลวเสร็จภายในระยะเวลาตาม วรรคหนึ่ง ใหถือตามแผนบริการขั้นต่ำที่จำเปนที่นายจางใหความเห็นชอบ มาตรา ๑๒๓ บรรดาพระราชกฤษฎีกา ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกตาม พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ ๒๕๔๓ ที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใชบังคับ ใหยังคงใชบังคับไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้จนกวา จะมีระเบียบ ประกาศหรือคำสั่งตามพระราชบัญญัตินี้ขึ้นใชบังคับ การดำเนินการออกระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งตามวรรคหนึ่ง ใหดำเนินการใหแลว เสร็จภายในหนึ่งปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ หากไมสามารถดำเนินการไดใหรัฐมนตรีรายงาน เหตุผลที่ไมอาจดำเนินการไดตอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ มาตรา ๑๒๔ บทบัญญัติกฎหมายใดอางถึงกฎหมายวาดวยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ หรือกฎหมายวาดวยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ ใหถือวาอางถึงพระราชบัญญัตินี้ 243 ... 24 Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective Firstly, the link of causality between the integration of labour provisions in FTAs and labour rights and. .. Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective The inclusion of labour provisions is more common in trade agreements between developed and developing economies Nonetheless,... the EU 11 Comparative Study on Labour Provisions in FTAs: Vietnam’s and Thailand’s Perspective CHAPTER PRACTICE AND RATIONALE OF INCLUSION OF LABOUR PROVISIONS IN TRADE AGREEMENTS In this Chapter,

Ngày đăng: 29/04/2022, 13:42

TỪ KHÓA LIÊN QUAN

TÀI LIỆU CÙNG NGƯỜI DÙNG

TÀI LIỆU LIÊN QUAN

w