1. Trang chủ
  2. » Nông - Lâm - Ngư

Culture on spotted babylon (babylonia areolata

21 67 0

Đang tải... (xem toàn văn)

Tài liệu hạn chế xem trước, để xem đầy đủ mời bạn chọn Tải xuống

THÔNG TIN TÀI LIỆU

Thông tin cơ bản

Định dạng
Số trang 21
Dung lượng 387,54 KB

Nội dung

O19 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 การเลี้ยงหอยหวาน (Babylonia areolata Link, 1807) ในกระชังในบอดิน ลือชัย ดรุณชู และ วิวรรธน สิงหทวีศักดิ์ ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี 165 หมูที่ ต บางกะจะ อ เมือง จ จันทบุรี ๒๒๐๐๐ โทร ๐ ๓๙๔๕ ๗๙๘๗-๘ บทคัดยอ การเลี้ยงหอยหวาน (Babylonia areolata Link, 1807) ในกระชังในบอดิน ที่ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝง จันทบุรี ระหวางเดือนมกราคม 2547 ถึงเดือนพฤษภาคม 2547 เปนเวลา 16 สัปดาห โดยมีแพไมไผ ขนาด x เมตร แขวนกระชัง ขนาด 1.20 x 1.20 x 0.5 เมตร จํานวน 12 ใบ ปลอยพันธุหอยหวานขนาดความยาวเฉลี่ย 1.60+0.20 เซนติเมตร ความกวางเฉลี่ย 1.09+0.13 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉลี่ย 1.86 กรัม แบงการทดลองออกเปน ความหนาแนน คือ 300, 400, 500 และ 600 ตัวตอตารางเมตร โดยใหเนื้อปลาขางเหลืองเปนอาหาร เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบวา การ เจริญเติบโตดาน ความยาวของเปลือกหอยเปน 3.13+0.07, 3.02+0.04, 2.99+0.04 และ2.77+0.08 เซนติเมตร ความกวาง ของเปลือกหอยเปน 2.07+0.01, 2.03+0.05, 1.94+0.01 และ 1.85+0.01 เซนติเมตร และน้ําหนักของหอยเปน 7.81+0.38, 7.18+0.49, 6.45+0.33 และ 5.89+0.33 กรัม ตามลําดับ มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P0.05) แตมีผลผลิตรวมเฉลี่ย 2.74+0.12, 3.49+0.18, 3.85+0.18 และ 4.33+0.14 กิโลกรัม ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P0.05) การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดินความหนาแนน 400 ตัวตอตารางเมตรให ผลตอบแทนสูงที่สุด คําสําคัญ :- หอยหวาน การเลี้ยง กระชัง บอดิน 216 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O19 Culture on Spotted Babylon (Babylonia areolata, Link 1807) by Floating Cages in Earthen Pond Luechai Darunchu and Wiwat Singthaweesak Chanthaburi Coastal Fisheries Research and Development Center 165 Moo Bang Kha Cha, Muang District, Chanthaburi Province 22000 Tel 3945 7987-7 Abstract The cultured of spotted babylon (Babylonia areolata Link 1807) by floating cages was done in earthen pond at Chanthaburi Coastal Fisheries Research and Development Center during January 2004 to May 2004, for 16 weeks The rearing was held in 12 floating cages at size 1.20×1.20×0.5 meters were hanging on 8×8 meters size of bamboo raft The experiment consisted of stocking densities, were 300 400 500 and 600 snails per square meter The size of specimens was average length about 1.60±0.20 centimeters, width about 1.09±0.13 centimeters and weight about 1.86 grams, respectively The growth on shell length of treatments were 3.13±0.07, 3.02±0.04, 2.99±0.04 and 2.77±0.08 centimeters, shell width were 2.07±0.01, 2.03±0.05, 1.94±0.01 and 1.85±0.01 centimeters and body weight were 7.81±0.38, 7.18±0.49, 6.45±0.33 and 5.89±0.33 grams, and the revelation showed significantly difference (P0.05) But the total production were 2.74±0.12, 3.49±0.18, 3.04±0.03 and 4.33±0.14 kilograms and showed difference with significance (P0.05) The cultured of spotted Babylon at stocking density 400 snails per square meter was the highest benefit Key word :- Spotted Babylon Babylonia areolata Culture Floating Cages, Earthen Pond คํานํา หอยที่มีชื่อสามัญวาหอยหวาน หอยตุกแก หอยเทพรส หรือ Spotted Babylon จัดเปนหอยฝาเดียว ที่พบมากใน ประเทศไทยมีอยู ชนิด คือ Babylonia spirata ชนิดที่ทําการศึกษา มีชื่อวิทยาศาสตรวา Babylonia areolata Link 1807 เปนหอยที่พบมากในเขตรอน ตั้งแตไตหวันลงมา จนถึงอาวไทย หอยหวานมีการแพรกระจายตามจังหวัดชายฝงทะเล บริ เ วณฝ ง อ า วไทย และฝ ง อั น ดามั น จั ง หวั ด ที่ มี ก ารจั บ กั น มาก คื อ ระยอง จั น ทบุ รี เพชรบุ รี ระนอง ป ต ตานี และ นครศรีธรรมราช (นิพนธและลือชัย, 2543) เนื้อมีรสชาติดี มีผูนิยมบริโภคกันเปนจํานวนมาก ความตองการหอยหวานใน ประเทศไทย นิยมบริโภคหอยขนาดใหญ 60-80 ตัวตอกิโลกรัม ในขณะที่ตางประเทศนิยมหอยขนาดเล็ก 80-130 ตัวตอ กิโลกรัม (นิตยสารสัตวน้ํา, 2543) หอยหวานเปนหอยที่มีความตองการของตลาดทั้งภายในและตางประเทศ ในประเทศ ไทยหอยหวานที่นํามาบริโภค สวนใหญเปนหอยที่จับมาจากแหลงน้ําธรรมชาติเกือบทั้งหมด (ลือชัยและเกียรติศักดิ์, 2547) การเก็บเกี่ยวหอยหวานโดยการใชเครื่องมือประมงประเภทลอบดัก (Trap fishing gear) และเหยื่อที่นิยมใชไดแก ปลา หรือ ปู ที่ตายแลว หรือนํามาดองเกลือ เพื่อใหมีกลิ่นดึงดูดหอยหวานใหเขามากินอาหารที่วางในลอบ หอยหวานที่จับ ไดมีขนาดความยาวเปลือกเฉลี่ย 6.90 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉลี่ย 46.7 กรัม โดยทั่วไปลอบหอยหวานมีปริมาณการจับที่ ไดผลผลิตคอนขางต่ํา และมีความผันแปรในแตละลอบ ในแตละวันสูงมาก (นิลนาจและอนุตร, 2541) 217 O19 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 ปจจุบันมีเกษตรกรสนใจหันมาทําการเลี้ยงหอยหวานกันมากขึ้น การเลี้ยงหอยหวานมีหลายรูปแบบ คือการเลี้ยง ในบอคอนกรีต บอผาใบ เลี้ยงในคอกในทะเล เลี้ยงในกระชัง และเลี้ยงในบอดิน เปนตน การเลี้ยงหอยหวานในกระชังใน บอดินเปนการเลี้ยงที่เหมาะสมตอสภาพแวดลอมชายฝงทะเล ที่น้ําทะเลมีความเค็มเปลี่ยนแปลงไมมากนัก ประมาณ 20-32 สวนในพัน เชนพื้นที่นากุงที่อยูริมฝงทะเล การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดิน จะแกปญหาเรื่องพื้นบอที่เปนดินโคลน เชนพื้นที่เลี้ยงกุงทะเลบริเวณชายฝงทะเลที่เปนหาดโคลน แบบปากน้ําเวฬุ อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ทั้งนี้เนื่องจากหอย หวานชอบพื้นดินที่เปนทราย หรือทรายปนโคลน การเลี้ยงในบอดินทําใหเก็บผลผลิตไดลําบาก และคัดขนาดยาก อัตรา การรอดตายต่ํากวาการเลี้ยงในกระชัง แนวความคิดในการเลี้ยงหอยหวานในกระชังในบอดิน เนื่องจากหอยหวานเปนสัตวที่ชอบอาศัยและฝงตัวในพื้น ทราย ไมชอบอยูในดินโคลน เพราะในการกินอาหารของหอยหวานโดยการปลอยน้ํายอยออกมายอยอาหารแลวดูดกลับเขา ไป มีการคลายเมือกออกมาติดอยูที่เทาหอยหวาน จึงจําเปนตองเดินไถบนพื้นทรายเพื่อใหเมือกหลุดออกไป ดังนั้นการเลี้ยง หอยหวานในบอดินสวนใหญพื้นบอเปนดินโคลน ไมเหมาะกับนิสัยความเปนอยูของหอยหวาน อีกประการหนึ่งการเลี้ยง ในบอดินมีพื้นที่กวางทําใหยากตอการจัดการ เชน การใหอาหาร การตรวจสอบการตายของหอย และการเก็บเกี่ยวผลผลิต แตการเลี้ยงหอยในกระชังงายตอการจัดการ เชน งายตอการตรวจสอบปริมาณอาหาร การตายของหอย และมีความสะดวก ในการเก็บเกี่ยวผลผลิตหอย วัตถุประสงค ศึกษาการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (FCR) และผลผลิตของหอยหวานที่ เลี้ยงในกระชังที่ระดับความหนาแนนตาง ๆ กัน ตลอดจนตนทุนในการเลี้ยงหอยหวาน อุปกรณและวิธีดําเนินการ การเตรียมแพและกระชัง 1.1 ทําแพไมไผขนาด กวาง x ยาว เทากับ x เมตร จํานวน แพ ตรงกลางแบงครึ่งเพื่อใชเปนทางเดินและ แขวนกระชัง แพลอยดวยถังพลาสติกขนาด 200 ลิตร ดานบนแพมีการกันแสงดวยสแลนพลาสติก ซึ่งลดแสงลงประมาณ 70 เปอรเซ็นต 1.2 กระชังสําหรับเลี้ยงหอยหวานมีขนาด กวาง x ยาว x สูง เทากับ 1.20 x 1.20 x 0.5 เมตร บุดวยอวนพลาสติก ขนาดตา 0.5 เซนติเมตร จํานวน 12 ใบ และ บุดวยอวนพลาสติกขนาดตา 1.0 เซนติเมตร จํานวน 12 ใบ เพื่อใชสําหรับ เปลี่ยนกระชัง หลังจากเลี้ยงหอยเปนเวลา เดือน บริเวณดานลางของกระชัง บุดวยอวนมุงสีฟา ตาละเอียดขนาด 60 ชอง ตอตารางเซนติเมตร ตรงบริเวณขอบดานลางยกสูงประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อใสทรายบริเวณกนกระชัง ในระยะการเลี้ยง 1-2 เดือน ใสทรายหยาบ และในระยะการเลี้ยง 3-4 เดือน จึงเปลี่ยนเปนกรวดเบอร ซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.3-0.5 เซนติเมตร โดยจะแขวนกระชังไวกับแพใหจมน้ําที่ระดับผิวน้ํา การเตรียมลูกพันธุหอยหวาน นําลูกหอยหวานจากโรงเพาะฟกของศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี จํานวน 9,000 ตัว มาพักในบอ ซีเมนตกลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 1.0 เมตร จํานวน 12 ใบ เพื่อพักฟนใหลูกหอยมีความแข็งแรง และปรับตัวไดเปนเวลา วัน จึงนําลูกหอยทั้งหมดมาคละกัน และสุมขึ้นมาวัดขนาด และชั่งน้ําหนัก จํานวน 200 ตัว หลังจากนั้นนําลูกหอยไปเลี้ยง ตอไป ลูกหอยที่เริ่มทําการเลี้ยงมีขนาดความยาวอยูระหวาง 1.00-1.80 เซนติเมตร เฉลี่ย 1.60+0.20 เซนติเมตร ความกวาง อยูระหวาง 0.82-1.39 เซนติเมตร เฉลี่ย 1.09+0.13 เซนติเมตร และน้ําหนักเฉลี่ย 1.86 กรัม 218 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 O19 การวางแผนการทดลอง ดําเนินการทดลอง โดยแบงการทดลองออกเปน ชุดการทดลอง ชุดละ ซ้ํา ดังนี้ ชุดการทดลองที่ เลี้ยงที่อัตราความหนาแนน 300 ตัวตอตารางเมตร (ปลอยหอย 432 ตัวตอกระชัง) ชุดการทดลองที่ เลี้ยงที่อัตราความหนาแนน 400 ตัวตอตารางเมตร (ปลอยหอย 576 ตัวตอกระชัง) ชุดการทดลองที่ เลี้ยงที่อัตราความหนาแนน 500 ตัวตอตารางเมตร (ปลอยหอย 720 ตัวตอกระชัง) ชุดการทดลองที่ เลี้ยงที่อัตราความหนาแนน 600 ตัวตอตารางเมตร (ปลอยหอย 864 ตัวตอกระชัง) อาหารที่ใชเลี้ยงหอยหวาน ในการทดลองเลี้ยงหอยหวานใหเนื้อปลาขางเหลือง (Caranx leptolepis Cur & Val.) เปนอาหาร โดยนําปลามา ลางใหสะอาดแลวแลเอาเฉพาะเนื้อไปใชเปนอาหารเทานั้น ในอัตราวันละ %ของน้ําหนักตัว การจัดการ มีเครื่องสูบน้ําแบบทอพญานาคขนาดเสนผาศูนยกลาง นิ้ว มอเตอรขนาด แรงมา จํานวน ตัว สูบน้ําจาก แมน้ําจันทบุรีเขาบอเลี้ยงหอยในชวงที่น้ําขึ้นวันละ 2-3 ชั่วโมง เปนการรักษาระดับน้ําใหคงที่ระดับน้ํา 1.5-1.8 เมตร ภายในบอดิน มีเครื่องตีน้ําชนิด แขน มอเตอรขนาด แรงมา จํานวน ตัว จะเปดภายหลังจากใหอาหารและตอนเชา ประมาณ 1-2 ชั่วโมง เพื่อใหน้ําในบอมีการไหลเวียนผานทุกกระชัง และมีการทําความสะอาดทรายทุก ๆ วัน โดยใช เครื่องสูบน้ําแบบจุมสูบน้ําในบอดินมาฉีดทรายบริเวณกนกระชัง และตรวจสอบการเจริญเติบโตดวยวิธีการวัดขนาดและ ชั่งน้ําหนัก ทุก ๆ สัปดาห การวิเคราะหคุณภาพน้ํา ทําการเก็บตัวอยางน้ําทุก ๆ วัน โดยวัดดรรชนีคุณภาพน้ํา ดังนี้ ความเค็มน้ํา โดยใชเครื่องมือ Reflecto salinometer ยี่หอ ATAGO รุน S-Mill 100 ความเปนกรด-ดางของน้ํา (pH) โดยใชเครื่องมือ pH meter ยี่หอ WTW รุน pH 537 ออกซิเจนที่ละลายน้ํา โดยใชเครื่องมือ DO meter ยี่หอ YSI รุน Model 52 B อัลคาไลน (Alkalinity) โดยวิธี Potentiometer titration to pre-selection pH (APHA, AWWA-WPCF, 1980) แอมโมเนีย (NH4+) โดยวิธี Koroleff’ s indophenol blue method (APHA, AWWA-WPCF, 1980) ไนไตรท (NO2-) โดยวิธี Shinn’ s method (Grassoff, 1976) ไนเตรท (NO3-) โดยวิธี Cadmium reduction (Stickland and Parson, 1972) การเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูล 7.1 การเก็บขอมูล ทําการสุมตัวอยางหอยหวานมาทุกกระชังในปริมาณ 30 ตัวตอกระชัง นํามาวัดขนาดและชั่งน้ําหนัก แลวบันทึก ขอมูลไว ทุก สัปดาห 7.2 การวิเคราะหขอมูล 7.2.1 การเจริญเติบโต (Growth) ทําการวัดความกวาง ความยาวของเปลือกหอย และน้ําหนักของหอยหวาน ตลอดการทดลอง 7.2.2 การคํานวณอัตราการรอดตาย (Survival Rate) ใชสูตร Nt × 100 S R = No 219 O19 การประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548 S R = อัตราการรอดตาย (%) Nt = จํานวนของหอยหวานที่เหลือรอด ณ เวลา t No = จํานวนของหอยหวานที่เริ่มทดลอง 7.2.3 การคํานวณอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (Food Conversion Ratio หรือ FCR) ใชสูตร น้ําหนักอาหารที่หอยหวานกินทั้งหมด น้ําหนักหอยหวานที่เพิ่มขึ้น 7.2.4 การคํานวณผลผลิตและผลผลิตเพิ่ม โดยการนําหอยที่เหลือทุกตัวเมื่อสิ้นสุดการทดลองมาชั่งน้ําหนัก รวมเปนผลผลิต แลวนําน้ําหนักหอยทุกตัวมาหักออกจะเปนน้ําหนักที่เพิ่มขึ้น ผลผลิต = น้ําหนักรวมสุดทายของหอยทุกตัว (Wt) ผลผลิตเพิ่ม = Wt - W0 W0 = น้ําหนักรวมเริ่มตนของหอยทุกตัว Wt = น้ําหนักรวมสุดทายของหอยทุกตัว 7.2.5 ทําการวิเคราะหขอมูลจากผลการทดลองเกี่ยวกับ ความยาวและความกวางเปลือก น้ําหนักตัว อัตรา การรอดตาย อัตราการแลกเนื้อ (FCR) และผลผลิตรวมของหอยหวานแตละกระชัง นํามาวิเคราะหผลทางสถิติ โดยใช วิธีการทดสอบหาความแปรปรวน (Analysis of Variance) ของกลุมขอมูล ดวยวิธี F-Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % (P=0.05) เพื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของแตละชุดการทดลอง หากพบวามีความแตกตางกันทางสถิติ จะใชวิธี Duncan’ s New Multiple Range Test ที่ระดับความมั่นใจ 95% (P=0.05) ทั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบผลของคูทดลอง (จรัญ, 2523) สถานที่และระยะเวลาที่ใชในการศึกษา ดําเนินการทดลองในบอดินของศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี ทําการทดลองใชเวลานาน 16 สัปดาห (ประมาณ เดือน) โดยเริ่มทดลองในเดือน มกราคม 2547 ไปจนถึง พฤษภาคม 2547 FCR = ผลการทดลอง การเจริญเติบโต จากการทดลองเลี้ ย งหอยหวาน ในกระชั ง ในบ อ ดิ น โดยใช พั น ธุ ห อยที่ มี ค วามยาวเปลื อ กเฉลี่ย 1.60±0.02 เซนติเมตร ดวยความหนาแนน 300, 400, 500 และ 600 ตัวตอตารางเมตร พบวา เมื่อสิ้นสุดการทดลองหอยหวานที่เลี้ยงมี การเจริญ เติ บ โต ดา นความยาวของเปลื อ กเฉลี่ย เป น 3.13±0.07, 3.02±0.04, 2.99±0.04 และ 2.77±0.08 เซนติ เ มตร ตามลําดับ (ตารางที่ และรูปที่ 1) เมื่อนําความยาวของเปลือกหอยหวานไปวิเคราะหผลทางสถิติพบวา ที่ทุกความ หนาแนนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P0.05) สวนในสัปดาหที่ ของการทดลองความยาวเปลือกเพิ่มขึ้นเปน 2.72±0.12, 2.71±0.06, 2.67±0.04 และ 2.57±0.04 เซนติเมตร ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P0.05) ที่เหลือนอกจากนี้มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทั้งหมด (P

Ngày đăng: 27/09/2019, 11:54

TỪ KHÓA LIÊN QUAN

w